Page 8 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           4

                                                        การตรวจเอกสาร

                        ดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดเปนดินที่มีการพัฒนาเปนระยะเวลานานลักษณะความแตกตางของชั้นดินเห็น

                  เดนชัดมากเปนดินที่เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ํากรอยหรือตะกอนน้ําทะเลที่มีสารประกอบของธาตุ
                  กํามะถันปะปนอยู เมื่อเกิดกระบวนการทางเคมีจะกลายเปนแรไพไรท (FeS2) สะสมและเมื่อตะกอนดินที่ทับ
                  ถมสูงขึ้น น้ําทวมไมถึง จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดเปนกรดกํามะถัน (H2SO4) ขึ้นในชั้นดินและพบ
                  สารประกอบจาโรไซท ซึ่งมีสีเหลืองฟางขาวในชั้นดินดวย ในดินเปรี้ยวจัดจะพบหญาประเภทกก กระจูดขึ้นอยู

                  ทั่วไป และเมื่อขุดลงไปในชั้นดินจะพบคราบสนิมเหล็กในดินและน้ํา น้ําในดินเปรี้ยวจัดจะใสและมีรสฝาด
                  (กรมพัฒนาที่ดิน, 2549) ลักษณะทั่วไปของดินเปรี้ยวจัดที่พบในบริเวณที่ราบลุม ดินชั้นบนลึกตั้งแต 20-40
                  เซนติเมตรเปนดินเหนียวถึงเหนียวจัดมีสีเทาหรือสีเทาเขมถึงดํา มีจุดประสีน้ําตาลแก สีแดงปนเหลือง และสี

                  แดง มีคาความเปนกรดเปนดาง 4.0-5.5 สวนดินชั้นลางเปนดินเหนียวมีสีพื้นเปนสีน้ําตาล หรือสีน้ําตาลปนเทา
                  ถึงสีเทา มีจุดปะสีเหลืองปนน้ําตาล สีแดง หรือสีเหลืองฟางขาว มีการระบายน้ําเลว ความสามารถในการอุมน้ํา
                  สูง (นงคราญ, 2536) การเกิดพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดสงผลกระทบตอการใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรอยาง
                  รุนแรงทําใหปลูกพืชไดนอยชนิดและใหผลผลิตต่ํา การปลูกพืชจะไดรับผลกระทบโดยตรงจากความรุนแรงของ

                  กรดที่เกิดขึ้นในดินโดยการละลายออกมาของธาตุบางชนิด เชน อะลูมินั่ม เหล็ก และแมงกานีส จนถึงระดับที่
                  เปนพิษตอพืชอีกทั้งทําใหธาตุฟอสฟอรัสซึ่งเปนธาตุอาหารหลักถูกตรึงใหอยูในรูปที่ไมเปนประโยชนตอพืชหรือ
                  ถูกดูดดึงไปใชไมไดเมื่อปลูกพืชในสภาพน้ําแชขังแมจะดูวาเปนการลดความเปนกรดของดินโดยใชน้ําแตปญหา
                  ที่ตามมาก็คือความเปนพิษจากกาซไขเนา จากเหล็กและกาซคารบอนไดออกไซด (พิสุทธิ์และคณะ, 2537)

                        ดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดกํามะถันมักเปนดินที่มีขอจํากัดของธาตุอาหารพืช พบวา โดยมากจะขาดธาตุ N
                  P K Ca Mg S Cu และ Mo จึงตองมีการเพิ่มใหกับพืช  ดินกรดจะมีธาตุที่ละลายไดในชวง pH ต่ําออกมา
                  มากกวาปกติ เชน อะลูมินัม และเหล็ก เปนตนเมื่อมีการใชปุยเคมีจึงตองใชอัตราที่สูงเนื่องจากมีธาตุอาหาร
                  บางสวนถูกตรึงโดยธาตุตางๆ เชน ฟอสฟอรัสจะถูกตรึงโดยอะลูมินัมและเหล็ก ปุยแอมโมเนียมและ

                  โพแทสเซียมก็ถูกชะลางไดงาย หากมีการใชปุยเคมีรวมกับปุยอินทรีย  ปุยเคมีจะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นเนื่องจาก
                  สารอินทรียจะจับกับอะลูมินัมและเหล็ก เปนสารประกอบเชิงซอนลดการตรึงฟอสฟอรัสไดระดับหนึ่ง
                  นอกจากนี้ปุยอินทรียยังจับปุยแอมโมเนียมไดบางสวน ทําใหลดการสูญเสียชะลางไปไดบาง (เจริญและคณะ,
                  2540) กลาวไดวา ความเปนพิษของสารประกอบตางๆที่ละลายออกมาในสภาพดินที่เปนกรดจัด เชน

                  ความเปนพิษของอะลูมินัม เมื่อ pH ลดลง 1 หนวย ปริมาณของอะลูมินัมที่ละลายไดจะเพิ่มขึ้นเปน 10 เทา
                  อะลูมินัมจะสะสมในเนื้อเยื่อของรากพืชยับยั้งการแบงตัวของเซลลและเอนไซมที่เกี่ยวของกับการสรางผนัง
                  เซลลทําใหระบบรากพืชไมเจริญเติบโตและความเปนพิษของธาตุเหล็กจะสงผลตอการเจริญเติบโตของพืช
                  กาซไฮโดรเจนซัลไฟดในดินเปรี้ยวจัดจะทําลายการทํางานของระบบรากพืชทําใหรากเนาหรือออนแอตอการ

                  เกิดโรค เปนตน (พิสุทธิ์และคณะ, 2536)
                        กลุมชุดดินที่ 14 มีเนื้อดินเปนดินเหนียว ดินบนสีดําหรือสีเทาปนดํา สวนดินชั้นลางสีเทา พบจุดประสี
                  เหลืองและสีน้ําตาลปะปนเล็กนอย จะพบดินเลนสีเทาปนเขียวและมีสารประกอบกํามะถันอยูมากตั้งแตความ

                  ลึก 80 เซนติเมตร ลงไป ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรง (pH 4.5) มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ํา
                        ชุ ด ดิ น ร ะแ ง ะ (Rangae series:  Ra) จัด อ ยูใน   very fine, mixed, superactive,  acid
                  ,isohypertermic Sulfic Endoaquepts เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําปจจุบัน บนที่ราบน้ําทะเลทวม
                  ถึงมากอน ในแองหรือที่ลุมหลังสันริมน้ําซึ่งอยูติดตอกับที่ราบน้ําทวมถึง สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะราบเรียบ มี
                  ความลาดชันนอยกวา 1 เปอรเซ็นต การไหลบาของน้ําชา จะมีน้ําทวมผิวดิน 8-10 เดือน ใน 1 ป ระดับน้ําใต

                  ดินอยูตื้นกวา 1 เมตร เกือบตลอดป (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548) โดยมีลักษณะเนื้อดิน คือ ดินชั้นบนเปนดินรวน
                  เหนียวหรือดินเหนียวมีสีดํา หรือสีเทาปนดํา เนื่องจากมีอินทรียวัตถุมาก ในระดับความลึก 0-25 เซนติเมตร ซึ่ง
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13