Page 7 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 7

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           3

                                                       หลักการและเหตุผล

                           พื้นที่ดินเปรี้ยวสวนใหญแพรกระจายอยูทั่วไปในทุกภาคของประเทศ พบวามีพื้นที่ 6,239,361 ไร

                  โดยเฉพาะที่ราบลุมภาคกลางตอนใต บริเวณชายฝงทะเลตะวันออกเฉียงใต บริเวณลุมน้ําจันทบุรีและชายฝง
                  ทะเลตะวันออกของภาคใต (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) สําหรับพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออกของภาคใตตอนลาง
                  พบวาจังหวัดที่มีพื้นที่ดินเปรี้ยวมากที่สุดคือ นราธิวาส รองลงมาคือ สงขลาและปตตานี ซึ่งมีพื้นที่ 138,759
                  136,711 และ 102,313 ไรตามลําดับ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) สวนจังหวัดพัทลุงมีพื้นที่ทั้งหมด 2,140,296

                  ไร มีพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันโดยในป พ.ศ.2558 และ 2559 มีพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันที่ใหผลผลิตแลว 36,401
                  และ 41,464 ไร ตามลําดับ ผลผลิตที่ได 71,018 และ 76,045 ตัน ตามลําดับ ผลผลิตตอไร 1,951 และ 1,834
                  กิโลกรัมตอไร (กรมสงเสริมการเกษตร, 2551) โดยปลูกในพื้นที่ที่เปนดินเปรี้ยวจัด โดยมีลักษณะเปนดินเหนียว

                  ลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวน มีสีดําหรือสีเทาปนดํา มีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก ดินลางมีเนื้อดินเปน
                  ดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย สีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีเหลืองและสีน้ําตาล มีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด
                  มากถึงกรดจัด คิดเปนเนื้อที่ 62,052 ไรหรือ รอยละ 2.90 ของพื้นที่ทั้งหมด (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)  การ
                  ปลูกปาลมน้ํามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดนั้น จะสงผลตอการใหผลผลิตโดยพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดมีธาตุอาหารที่จําเปน

                  อยูนอยและไมเพียงพอตอการเพิ่มขนาดและน้ําหนักของทะลายปาลมน้ํามัน เปาหมายของโครงการผลการใช
                  ปุยชีวภาพ พด.12 และปุยอินทรียคุณภาพสูง เพื่อใหมีการสะสมธาตุอาหารพืชทั้งธาตุหลัก รอง เสริมและ
                  ฮอรโมนพืชที่จําเปนและเปนประโยชนตอปาลมน้ํามันโดยการปลดปลอยธาตุอาหารใหแกปาลมน้ํามันแบบชาๆ
                  ทําใหลดการสูญเสียธาตุอาหาร เพื่อใหขนาดและน้ําหนักของทะลายเพิ่มขึ้นโดยขนาดและน้ําหนักของทะลายที่

                  เหมาะสมคือมีน้ําหนักระหวาง 15 – 25 กิโลกรัม ซึ่งเปนขนาดที่ใหสัดสวนของผลปาลมตอทะลายมากที่สุด
                  และทําใหมีเปอรเซ็นตน้ํามันสูงสุดตรงตามความตองการของตลาดทั้งในประเทศและการสงออก เกษตรกร
                  สามารถตอรองราคาผลผลิตได เมื่อผลผลิตดีมีคุณภาพตรงตามที่ตลาดตองการ ลดการนําเขาน้ํามันปาลมจาก
                  ประเทศเพื่อนบาน เกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น ชีวิตความเปนอยูก็ดีขึ้นดวย ดังนั้นโครงการวิจัยผลของใชปุย

                  ชีวภาพ พด.12 และปุยอินทรียคุณภาพสูงเพื่อศึกษาการเพิ่มธาตุอาหารหลัก รอง เสริมและฮอรโมนพืชในดิน
                  เปรี้ยวจัดที่เปนประโยชนตอผลผลิตของปาลมน้ํามัน ลดการตรึงธาตุฟอสฟอรัส ปรับระดับ pH ใหเหมาะสม
                  เพิ่มอินทรียวัตถุ เพิ่มจุลินทรียดินที่เปนประโยชนตอดินและปาลมน้ํามัน มีการปลดปลอยธาตุอาหารใหแก
                  ปาลมน้ํามันแบบชาๆทําใหลดการสูญเสียธาตุอาหาร ทําใหตนปาลมน้ํามันมีความอุดมสมบูรณ ไดผลผลิตที่ดีมี

                  คุณภาพโดยมีขนาดและน้ําหนักของทะลายเพิ่มขึ้น ผลการศึกษาและวิธีการที่มีประสิทธิภาพมีประโยชน ให
                  ผลตอบแทนสูงสุดตอเกษตรกรมากที่สุดจะไดนําไปขยายผลสูเกษตรกรในพื้นที่และพื้นที่อื่นๆเพื่อเปนแนวทาง
                  ปฏิบัติในการพัฒนาผลผลิตที่ดีมีคุณภาพใหตรงกับความตองการของตลาดทั้งในประเทศและการสงออก การ
                  ลดตนทุนการผลิต และลดการใชปุยเคมี สารเคมีตอไป








                                                          วัตถุประสงค

                           1. เพื่อศึกษาผลการใชปุยชีวภาพและปุยอินทรียคุณภาพสูงตอขนาดและน้ําหนักของทะลายของ
                  ปาลมน้ํามันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
                           2. เพื่อศึกษาสมบัติทางเคมีของดินกอนและหลังการจัดการดิน

                           3. เพื่อศึกษาผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12