Page 13 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils to increase sweet corn yield at Songkhla province.
P. 13
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
11
ดินช้า ตามปกติแล้วระดับน ้าใต้ดินอยู่ลึกกว่า 1 เมตรตลอดปี ดินบนลึกไม่เกิน 15 ซม. มีเนื้อดินเป็นดินทราย
ปนดินร่วน หรือดินทราย สีพื้นเป็นสีเข้มมากของสีน ้าตาลปนเทา สีน ้าตาลเข้ม หรือสีน ้าตาลปนเทา สีน ้าตาล
เข้มหรือสีน ้าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงกรดจัด (pH 5.1-6.0) ส่วนดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินทรายปน
ดินร่วนหรือดินทราย สีพื้นเป็นสีน ้าตาลปนเหลือง สีเหลืองปนน ้าตาล สีเหลืองปนแดง หรือสีน ้าตาลแก่ปฏิกิริยา
ดินเป็นกรดปานกลางถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-6.0) (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548)
ตารางที่ 1 ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินชุดดินบาเจาะ
ความจุ ความอุดม
ความลึก อินทรีย ความตัว ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียมที่
แลกเปลี่ยน สมบูรณ์
(ซม) วัตถุ เบส เป็นประโยชน์ เป็นประโยชน์
แคตไออน ของดิน
0-25 ต ่า ต ่า ต ่า ต ่า ต ่า ต ่า
25-50 ต ่า ต ่า ต ่า ต ่า ต ่า ต ่า
50-100 ต ่า ต ่า ต ่า ต ่า ต ่า ต ่า
(ส านักส ารวจดินและการวางแผนการใช้ที่ดิน,2548)
ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ดินและระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินชุดดินบาเจาะ
ระดับ
ความเป็นกรด CEC BS อินทรียวัตถุ Avai.P Exch.k
ชุดดิน ความอุดม
เป็นด่าง (pH) cmolc/kg (%) (OM %) (mg/kg) (mg/kg)
สมบูรณ์
บาเจาะ 5.27 2.69 24.47 1.06 6.73 24.00 ต ่า
(กรมพัฒนาที่ดิน, 2548)
ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน
1. เนื้อดินเป็นดินทรายจัดและปริมาณอินทรียวัตถุต ่า ท าให้การอุ้มน ้าได้น้อย หากฝนทิ้งช่วงนานอาจ
ท าให้พืชขาดน ้า นอกจากนั้นดินยังมีความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารได้น้อยด้วย
2. ความอุดมสมบูรณ์ของดินต ่า พืชมีโอกาสขาดธาตุอาหารหลายธาตุ
3. เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่ายและเกิดเป็นร่องลึก
4. ขาดแคลนน ้านาน จ าเป็นต้องมีการจัดการที่ดีและปลูกพืชที่เหมาะสม เช่น มะพร้าว
มะม่วงหิมพานต์ สับปะรด ท าเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และปลูกไม้โตเร็ว (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548)
ข้าวโพดหวาน (Sweet corn) เป็นพืชผสมข้ามพันธุ์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ Zea mays Line.Var
Sacchorata. อยู่ในตระกูล Gramineae ซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับหญ้าหรือข้าว เป็นพืชไร่ อายุสั้น ปลูกได้ตลอด
ทั้งปี แต่ควรปลูกช่วงฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน - มกราคม หรือต้นฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคม -
กรกฎาคม จะให้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพ ระบบรากของข้าวโพดมีระบบรากฝอย ซึ่งเจริญมาจาก 2 ส่วนคือ
รากที่เจริญมาจากคัพภะ เรียกว่า primary root เป็นรากที่มีการพัฒนามาจากแรดิเคิลและมีรากแขนงแตก
ออกมาเรียกว่า lateral root นอกจากนี้ยังมีรากที่เกิดขึ้นที่ scutellar node เรียกว่า seminal root ราก