Page 9 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils to increase sweet corn yield at Songkhla province.
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                   7




                     ทะเบียนวิจัย         62-63-04-12-50001-024-106-01-11
                     ชื่อโครงการวิจัย     ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิต

                                          ข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา

                                          Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils
                                          to increase sweet corn yield at Songkhla province.

                     กลุ่มชุดดินที่       43   ชุดดินบาเจาะ (Bacha series : Bc)

                     สถานที่ด าเนินงาน    บ้านหัวทรายขาว หมู่ที่ 2 ต าบลชิงโค อ าเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
                     หัวหน้าโครงการ       นายธรรมรัฐ        พุทธะสุภะ         Mr. Tammarat  Puttasupa

                     ผู้ร่วมด าเนินการ    1.นางสาวสุภาวดี   เรืองกูล          Miss. Supawadee Rueangkul

                                          2.นางรุจิเรข         ทองบุญ         Mrs. Rujirek  Thongbun
                                          3.นางสาวรัตนา     แก้วประดับเพชร     Miss.Rattans Keawpradabphet




                                                              บทคัดย่อ

                            การศึกษาผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพด

                     หวานในจังหวัดสงขลา ด าเนินการทดลองในแปลงเกษตรกรในพื้นที่ บ้านหัวทรายขาว หมู่ที่ 2 ต าบลชิงโค
                     อ าเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ในระหว่างเดือนตุลาคม  2561  ถึงเดือนกันยายน 2563 โดยวางแผนการ

                     ทดลองแบบ RCBD (Randomized Complex Block Design) จ านวน 8 ต ารับการทดลอง 3 ซ ้า คือ  ต ารับที่

                     1 : ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่+น ้าหมักชีวภาพ พด.2 ต ารับที่ 2 : ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000
                     กิโลกรัมต่อไร่+น ้าหมักชีวภาพ พด.2  ต ารับที่ 3 : ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่+สับกลบตอซัง

                     ข้าวโพดหวาน ต ารับที่ 4 : ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่+สับกลบตอซังข้าวโพดหวาน  ต ารับ

                     ที่ 5 : ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่+พืชปุ๋ยสด (ปอเทือง)+น ้าหมักชีวภาพ พด.2 ต ารับที่ 6 : ปุ๋ยหมัก
                     พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่+พืชปุ๋ยสด (ปอเทือง)+น ้าหมักชีวภาพ พด.2 ต ารับที่ 7 : ปุ๋ยชีวภาพ พด.12

                     อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่+สับกลบตอซังข้าวโพดหวาน+น ้าหมักชีวภาพ พด.2 ต ารับที่ 8 : ปุ๋ยอินทรีย์

                     คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่+สับกลบตอซังข้าวโพดหวาน+น ้าหมักชีวภาพ พด.2 พบว่า วิธีที่มีการใส่
                     ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสด(ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 เป็นวิธีที่ให้

                     การเจริญเติบโต ผลผลิตของข้าวโพดหวานและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของข้าวโพดหวานสูงกว่าวิธีอื่นๆ อีก

                     ทั้งวิธีดังกล่าวสามารถท าให้สมบัติของดินทรายจัดมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ทั้งทางกายภาพ ชีวภาพ
                     และทางเคมี
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14