Page 14 - ผลของปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) ร่วมกับมูลไก่ต่อผลผลิตและคุณภาพแตงโมหลังนาข้าว Effect of Bio-Fertilizer (LDD.12) and chicken manure to yield and quality of watermelon planted after rice.
P. 14
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
กรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ในดินบน และเป็นกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินล่าง ข้อจ ากัด เนื้อดินค่อนข้างเป็น
ทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ในฤดูแล้งดินจะแห้งจัด เสี่ยงต่อการขาดแคลน น้ าส าหรับพืช และเสี่ยงต่อการชะล้าง
พังทลายในฤดูฝน ข้อเสนอแนะ ควรใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มแร่ธาตุต่างๆ ให้แก่ดินและเพิ่มสมบัติทาง
กายภาพของดินและปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน ป้องกันการขาดน้ าและการ ชะล้างพังทลาย การเลือก
ระยะเวลาปลูกพืชที่เหมาะสม การไถพรวนแต่น้อยและ การปลูกพืชแบบสลับ (intercropping) การจัดหาแหล่งน้ า
โดยการขุดสระ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548; ส านักส ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2557)
ปริมาณน้ าฝนรวม
ตั้งแต่เริ่มด าเนินการทดลองเดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนกันยายน 2563 มีปริมาณน้ าฝนรวม เท่ากับ 1,997.1
มิลลิเมตร จ านวนวันที่ฝนตกรวม 98 วัน โดยมีการกระจายของน้ าฝน ปีที่ 1 เริ่มเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนตุลาคม
2562 เท่ากับ 1,274.4 มิลลิเมตร (ตารางภาคผนวกที่ 4) และปีที่ 2 เริ่มเดือนเมษายนถึงเดือนกันยายน 2563 เท่ากับ
722.7 มิลลิเมตร (ตารางภาคผนวกที่ 5)
อุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือน
เริ่มด าเนินการทดลอง ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนกันยายน 2563 โดยปีที่ 1 เริ่มเดือนตุลาคม 2561
ถึงเดือนธันวาคม 2562 มีอุณภูมิต่ าสุดเฉลี่ย 29.38 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 42.73 องศาเซลเซียส
(ตารางภาคผนวกที่ 4) ปีที่ 2 เริ่มเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2563 มีอุณภูมิต่ าสุดเฉลี่ย 24.43 องศาเซลเซียส
และและอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.89 องศาเซลเซียส (ตารางภาคผนวกที่ 5)
ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยรายเดือน
เริ่มด าเนินการทดลอง ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนกันยายน 2563 โดยปีที่ 1 เริ่มเดือนตุลาคม 2561
ถึงเดือนธันวาคม 2562 มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 68.50 เปอร์เซ็นต์ (ตารางภาคผนวกที่ 4) ปีที่ 2 เริ่มเดือนมกราคม
ถึงเดือนกันยายน 2563 มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 69 เปอร์เซ็นต์ (ตารางภาคผนวกที่ 5)
อุปกรณ์และวิธีด าเนินการ
อุปกรณ์
1.1 ปุ๋ยชีวภาพ (ขยายเชื้อพด.12) ปุ๋ยคอก (มูลไก่) และสารป้องกันแมลงศัตรูพืช (พด.7)
1.2 ปุ๋ยเคมี สูตร 14-14-21
1.3 เมล็ดพันธุ์แตงโมลูกผสมพันธุ์กินรี 188 (F1 Hybrid)
1.4 อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดิน ได้แก่ จอบ เสียม ถุงพลาสติก ยางรัด และถังพลาสติก
1.5 ปูนขาว
1.6 อุปกรณ์วัดการเจริญเติบโตและผลผลิต ได้แก่ เทปวัด สายวัด และเครื่องชั่ง
1.7 ป้ายโครงการวิจัยและป้ายต ารับการทดลอง
วิธีการ
2.1 วางแผนการทดลอง แบบ Randomize Complete Block Design ประกอบด้วย 6 ต ารับการทดลอง 4
ซ้ า รวม 24 แปลงย่อย โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) ขยายเชื้อกลุ่มจุลินทรีย์ที่สามารถตรึง
ไนโตรเจน รวมทั้งจุลินทรีย์ละลายฟอสฟอรัส และจุลินทรีย์ละลายโพแทสเซียม และปุ๋ยคอก (มูลไก่) โดยทุกต ารับใส่
ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อไม่ให้กระทบต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตแตงโมหลังนาข้าว เป็นดินร่วนปน
ทราย ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ประกอบด้วยต ารับการทดลอง ดังนี้
ต ารับ 1 : ควบคุม (ไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพและมูลไก่)
ต ารับ 2 : ปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) อัตรา 2,400 กิโลกรัมต่อไร่ (3 กก.ต่อต้น) (วรรณา และคณะ, 2558)
ต ารับ 3 : ปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ + มูลไก่ อัตรา 2,100 กิโลกรัมต่อไร่
ต ารับ 4 : ปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) อัตรา 600 กิโลกรัมต่อไร่ + มูลไก่ อัตรา 1,800 กิโลกรัมต่อไร่