Page 17 - ผลของปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) ร่วมกับมูลไก่ต่อผลผลิตและคุณภาพแตงโมหลังนาข้าว Effect of Bio-Fertilizer (LDD.12) and chicken manure to yield and quality of watermelon planted after rice.
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ตารางที่ 1 สมบัติทางเคมีของดิน ปีที่ 1 (2562) และปีที่ 2 (2563)
สมบัติของดิน EC
pH (dS/m)
ต ารับ หลังทดลอง หลังทดลอง หลังทดลอง หลังทดลอง
ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 1 ปีที่ 2
ก่อนทดลองปีที่ 1 4.90 - 0.06 -
1 5.80 6.35 c 0.02o b 0.033
2 5.75 6.50 abc 0.018 b 0.038
3 5.93 6.48 bc 0.028 ab 0.033
4 5.83 6.68 ab 0.038 a 0.043
5 5.95 6.70 a 0.023 b 0.038
6 5.80 6.65 ab 0.023 b 0.038
C.V. (%) 2.50 2.16 31.44 20.93
F-test ns * * ns
หมายเหตุ : ns หมายถึง ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ และ * หมายถึง ค่าเฉลี่ยมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมี
นัยส าคัญยิ่ง ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ตัวอักษรที่แตกต่างกันในแต่ละคอลัมน์ แสดงความแตกต่างทางสถิติ ที่ระดับ
ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT
ต ารับที่ 1 ควบคุม (ไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพขยายเชื้อพด.และไม่ใส่มูลไก่) ต ารับที่ 2 ปุ๋ยชีวภาพฯ อัตรา 2.4 ตัน
ต่อไร่ ต ารับที่ 3 ปุ๋ยชีวภาพฯ อัตรา 0.3 ตันต่อไร่ ร่วมกับมูลไก่ อัตรา 2.1 ตันต่อไร่ ต ารับที่ 4 ปุ๋ยชีวภาพฯ อัตรา 0.6
ตันต่อไร่ ร่วมกับมูลไก่ อัตรา 1.8 ตันต่อไร่ ต ารับที่ 5 ปุ๋ยชีวภาพฯ อัตรา 0.9 ตันต่อไร่ ร่วมกับมูลไก่ อัตรา 1.5 ตัน
ต่อไร่ และต ารับที่ 6 ปุ๋ยชีวภาพฯ อัตรา 1.2 ตันต่อไร่ ร่วมกับมูลไก่ อัตรา 1.2 ตันต่อไร่
1.3 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (Organic Matter : %OM) ก่อนและหลังการทดลองไม่มีความแตกต่างกันทั้ง
2 ปี โดยดินก่อนการทดลองปีที่ 1 (2562) มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ า เท่ากับ 0.51 เปอร์เซ็นต์ ส าหรับดินหลัง
การทดลองปีที่ 1 มีค่าอยู่ในช่วงต่ ามากถึงต่ า (0.46-0.60%) ส่วนดินหลังการทดลองปีที่ 2 (2563) มีค่าต่ าถึงค่อนข้าง
ต่ า (0.92-1.04%) (ตารางที่ 2) อย่างไรก็ตามแม้ว่าการทดลองนี้จะมีการใส่ปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) และมูลไก่ แต่
เนื่องจากพื้นที่ที่ท าการทดลองมีลักษณะเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ซึ่งเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า และเป็นการ
ทดลองที่ได้ด าเนินงานเพียง 2 ปี จึงอาจไม่มีผลให้ค่าอินทรียวัตถุในดินเกิดการเปลี่ยนแปลงมากขึ้น
1.4 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน (Available P) ก่อนการทดลองมีค่าค่อนข้าวสูง (180 มิลลิกรัม
ต่อกิโลกรัม) แต่ดินการทดลองปีที่ 1 (2562) และปีที่ 2 (2563) มีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ กล่าวคือ
ดินหลังการทดลองปีที 1 และปีที่ 2 มีปริมาณฟอสฟอรัสในดินมากที่สุดเท่ากับ 59 และ 103 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
ตามล าดับ เมื่อใส่ปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) อัตรา 0.6 ตันต่อไร่ ร่วมกับมูลไก่อัตรา 1.8 ตันต่อไร่ (ตารางที่ 2) ทั้งนี้อาจเป็น
เพราะต ารับดังกล่าว (ต ารับที่ 4) มีการใส่มูลไก่ในปริมาณมากกว่าทุกต ารับ 1.8 ตันต่อไร่ ประกอบกับมูลไก่เป็นปุ๋ย
คอกที่มีปริมาณธาตุอาหารสูง โดยมูลไก่ที่ใส่ในปีที่ 1 และปีที่ 2 มีฟอสฟอรัสเท่ากับ 9.37 และ 8.31 เปอร์เซ็นต์
ตามล าดับ จึงเป็นผลให้ดินหลังการทดลองทั้ง 2 ปี มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เหลือตกค้างในดินสูงสุด
1.5 ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน (Available K) ก่อนการทดลองมีค่าอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ า เท่ากับ
44 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส าหรับดินหลังการทดลองปีที่ 1 (2562) และปีที่ 2 (2563) มีค่าแตกต่างกันทางสถิติ
กล่าวคือ ดินหลังการทดลองปีที่ 1 และปีที่ 2 มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินสูงสุด เท่ากับ 48 และ 77
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ เมื่อใส่ปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) อัตรา 0.6 ตันต่อไร่ ร่วมกับมูลไก่อัตรา 1.8 ตันต่อไร่
(ต ารับที่ 4) (ตารางที่ 2) ทั้งนี้อาจเนื่องจากอาจเป็นเพราะต ารับดังกล่าว (ต ารับที่ 4) มีการใส่มูลไก่ในปริมาณมากกว่า
ทุกต ารับ 1.8 ตันต่อไร่ ประกอบกับมูลไก่เป็นปุ๋ยคอกที่มีปริมาณธาตุอาหารสูง โดยมูลไก่ที่ใช้ในปีที่ 1 และปีที่ 2 มี