Page 15 - ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อความชื้นในดินและการเจริญเติบโตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ The Impact of Climate Change on Soil Moisture and the Growth of Maize on Upland of Chiang Mai province.
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           5

                             การจัดการที่ส าคัญอย่างหนึ่งเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดีในปริมาณที่สูง คือ การจัดการน้ าให้
                   เหมาะสมตามความต้องการของพืช ซึ่งจ าเป็นต้องทราบปริมาณการคายน้ าหรือการใช้น้ าของพืชแต่ละชนิด เพื่อใช้

                   เป็นแนวทางส าหรับการจัดการน้ าของไม้ยืนต้นเศรษฐกิจให้เหมาะสมและแม่นย ามากยิ่งขึ้น ซึ่งน าไปสู่การเพิ่ม
                   ประสิทธิภาพการผลิตของไม้ยืนต้นเศรษฐกิจต่อไป (สุภัทร์, 2555)
                          2. การก้าหนดการให้น้้าแก่พืช (ธีระพล, 2549)

                             การก าหนดการให้น้ าแก่พืชเป็นเรื่องที่มีความส าคัญเป็นอย่างยิ่ง ในการชลประทานระดับไร่นา ซึ่งจะ
                   เกี่ยวพันและมีผลกระทบโดยตรงต่อการปลูกพืชให้เจริญเติบโตได้ดีและให้ผลผลิตสูง ตลอดจนเพื่อให้ได้ประโยชน์จาก
                   น้ าชลประทานอย่างเต็มที่การที่จะก าหนดการให้น้ าให้ถูกต้องเหมาะสมจ าเป็นที่จะต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
                   ความสัมพันธ์ระหว่างดิน-น้ า-พืช เป็นอย่างดี เรื่องดินจ าเป็นที่จะต้องรู้คุณสมบัติของดินในแปลงเพาะปลูกเกี่ยวกับขีด
                   ความสามารถในการอุ้มน้ าไว้ได้ของดิน ความชื้นในดินที่จะยอมให้พืชดูดเอาไปใช้ได้ ลักษณะการดูดซึมน้ าของดินและ
                   ความสามารถในการระบายน้ าของดิน เรื่องน้ าจ าเป็นต้องรู้ถึงปริมาณและคุณภาพน้ าชลประทานตลอดจนรอบเวรใน

                   การส่งน้ าชลประทาน และเรื่องพืชจ าเป็นที่จะต้องรู้คุณสมบัติบางประการของพืช เช่น การใช้น้ าของพืช
                   ความสามารถในการทาแล้ง และระยะวิกฤตของพืช ความส าเร็จหรือล้มเหลวของการให้น้ าแก่พืชหรือการ
                   ชลประทานระดับไร่นาขึ้นอยู่กับผู้ที่ท าหน้าที่ในการก าหนดการให้น้ าแก่พืช จะมีความรู้ความเข้าใจตลอดจนมีข้อมูล
                   เกี่ยวกับ ดิน น้ า และ พืช มากน้อยแค่ไหน พึงจ าไว้เสมอว่าการก าหนดการให้น้ าที่ไม่เหมาะสม นอกจากก่อให้เกิด
                   การสูญเสียน้ าโดยเปล่าประโยชน์แล้วยังก่อให้เกิดผลเสียหายแก่พืชและผลผลิตตลอดจนอาจก่อให้เกิดปัญหาเรื่อง
                   การระบายน้ าตามมาอีกด้วย
                             เมื่อไรจึงควรท าการให้น้ าและต้องให้เป็นปริมาณเท่าใด ถือว่าเป็นหัวใจส าคัญของการก าหนดการให้น้ า
                   แก่พืชหรือการชลประทานในระดับไร่นา การให้น้ าแก่พืชคือการให้น้ าเพื่อควบคุมความชื้นในดินในเขตรากพืชให้อยู่
                   ในช่วงระหว่างจุดเหี่ยวเฉาถาวร (permanent wilting point: PWP) กับความชื้นชลประทาน (field capacity: FC)
                   หรือพูดง่าย ๆ ว่าอยู่ในช่วงความชื้นที่พืชดูดเอาไปใช้ได้ การให้น้ าแก่พืชจะเริ่มท าเมื่อความชื้นในดินลดลงใกล้จุด

                   เหี่ยวเฉาถาวร ส่วนจะให้ลดลงใกล้มากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับความสามารถในการอุ้มน้ าของดิน ความสามารถในการ
                   ทนแล้งของพืช และสภาพภูมิอากาศ เช่น ความแห้งแล้ง หรือความชุ่มชื้น ซึ่งเป็นองค์ประกอบส าคัญที่อิทธิพลต่อ
                   การใช้น้ าของพืช โดยทั่ว ๆ ไปจะยอมให้ความชื้นในดินลดลง 50 - 75 เปอร์เซ็นต์ของความชื้นที่พืชดูดเอาไปใช้ได้ ซึ่ง
                   ความชื้นในดินที่ยอมให้ลดลงก่อนท าการให้น้ าครั้งต่อไป เรียกว่า ความชื้นที่ยอมให้พืชดูดไปใช้ได้ (allowable soil
                   moisture deficiency) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า allowable depletion ส่วนความชื้นที่เหลือในดินหลังจากที่พืชดูดเอา
                   ความชื้นที่ยอมให้พืชดูดไปใช้ได้ไปหมดแล้วคือ ความชื้นที่จุดวิกฤต (critical moisture level หรือ critical point)



























                   ภาพที่ 2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความชื้นในดินกับการก าหนดการให้น้ าแก่พืช
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20