Page 18 - ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อความชื้นในดินและการเจริญเติบโตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ The Impact of Climate Change on Soil Moisture and the Growth of Maize on Upland of Chiang Mai province.
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           8



                                                  ระยะเวลาและสถานที่ด้าเนินการ

                   ระยะเวลาด้าเนินงาน    เริ่มต้นเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2560

                                         สิ้นสุดเดือน กันยายน พ.ศ. 2563

                   สถานที่ด้าเนินการ    1. สถานที่ตั้ง ต าบลกองแขก อ าเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
                                        2. Site Characterization
                          ดินคล้ายชุดดินภูผาม่านที่มีจุดประสีเทา (Ppm-gm)  เป็นกลุ่มชุดดินในพื้นที่ดอน อยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 31b

                   สภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 1  -  2  เปอร์เซ็นต์ ภูมิสัณฐานเป็นบริเวณพื้นที่เหลือค้างจากการกัด
                   กร่อน (ภูมิประเทศแบบคาสต์)  วัตถุต้นก าเนิดดินเกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ของหินปูน หรือหินปูนร่วมกับ
                   หินดินดาน การระบายน้ าดีปานกลางถึงค่อนข้างเลว การซึมผ่านได้ของน้ าปานกลางถึงเร็ว การไหลบ่าของน้ าบนผิว
                   ดินปานกลางถึงเร็ว ลักษณะสมบัติของดินเป็นดินเหนียวลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ดินเหนียวหรือดินเหนียว
                   ปนทรายแป้งสีน้ าตาลหรือน้ าตาลเข้ม ดินล่างเป็นดินเหนียวสีน้ าตาลปนแดง หรือเหลืองปนแดง มีจุดประสีเทาหรือสี
                   เทาอ่อนภายในความลึก 75 เซนติเมตร จากผิวดิน และจุดประสีน้ าตาลแก่และสีแดงปนเหลือง สีเหลือง โครงสร้าง
                   ค่อนข้างดีร่วนซุย ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลาง ถึงเป็นกลาง (pH 6.0 - 7.0) ในดินบนและเป็นกรดปานกลางถึงเป็น

                   กรดเล็กน้อย (pH 6.0 - 6.5) ในดินล่าง ข้อจ ากัดคือเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ าในฤดูเพาะปลูก ข้อเสนอแนะคือควรใส่
                   ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมัก เพื่อปรับปรุงให้ดินมีสมบัติทางกายภาพที่ดีขึ้นและเพิ่มธาตุอาหารแก่พืช  (กรมพัฒนาที่ดิน,
                   2564)

                                                        อุปกรณ์และวิธีการ

                   อุปกรณ์
                          อุปกรณ์ส าหรับการปลูกและเก็บผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                          1) เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พันธุ์นครสวรรค์ 3
                          2) ปุ๋ยคอก ปุ๋ยเคมี และฟางข้าว
                          3) ระบบน้ า เทปน้ าหยด ถังเก็บน้ า
                          4) ไม้วัดความสูงส าหรับวัดการเจริญเติบโตของพืช
                          5) ถุงพลาสติกและถุงตาข่ายส าหรับเก็บตัวอย่างดินและพืช
                          6) เครื่องชั่งน้ าหนัก
                          7) จอบ เสียม และเข่ง

                          8) ชุดเก็บตัวอย่างดินแบบไม่ท าลายโครงสร้าง (soil core samplers) ได้แก่ วงแหวนเก็บตัวอย่างดิน และ
                   ที่ตอกวงแหวนเก็บตัวอย่างดิน
                          9) เครื่องวัดความชื้นในดิน (tensiometer)

                   วิธีการ
                          1. วางแผนการทดลองแบบ split-plot ประกอบด้วย main plot คือ การคลุมดิน และ sub-plot คือ การ
                   ให้น้ า จ านวน 3 ซ้ า โดย
                             main plot ประกอบด้วย M1: ไม่คลุมดิน และ M2: คลุมดินด้วยฟางข้าวและใส่ปุ๋ยคอก
                             sub-plot ประกอบด้วย S1: ไม่ให้น้ า S2: ให้น้ าทุกวัน S3: ให้น้ าทุก 2 วัน S4: ให้น้ าทุก 3 วัน และ S5:
                   ให้น้ าทุก 4 วัน

                          2. ขั้นตอนการด าเนินงาน
                             1) การเตรียมแปลงท าการไถดะด้วยผาล 3  แล้วตากดินทิ้งไว้ 7  -  10  วัน แล้วไถแปรด้วยผาล 7 และ
                   คราดเก็บเศษซาก ราก เหง้า หัว และไหลของวัชพืชออกจากแปลง เตรียมแปลงทดลองย่อยขนาด 4.5  x  5  เมตร

                   (ประดิษฐ์, 2544) จ านวน 30 แปลง ระยะห่างระหว่างแปลงย่อย 1 เมตร
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23