Page 14 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      ตารางที่ 2 ปริมาณปุยเคมีสําหรับปาลมน้ํามันอายุปลูก 1-3 ป

                              ชนิดดิน         อายุปาลม               ชนิดละปริมาณปุยเคมี (กก./ตน)
                                                 (ป)     21-0-0    18-46-0    0-0-60  กลีเซอรไรท   โบแรต

                      ดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา   1      1.25       0.5         1         0.5        0.09
                                                  2        2.5       0.75        2.5         1         0.13
                                                  3        3.5         1          3          1         0.13

                      ดินเหนียวที่มีความอุดมสม    1         1         0.6        0.5         -         0.09
                      บูรณสูง มีดินเหนียวตั้งแต   2       2         0.9        1.8         -         0.13
                      40% ขึ้นไป                  3         2         1.1        2.3        0.7        0.13
                      ในดินกรดหรือดินเปรี้ยวจัด   1         1         0.9         1         0.3        0.09
                      (acid sulphate)             2        2.2        0.9        2.5        0.3        0.13
                                                  3         3          1         2.5        0.7        0.13
                      ดินทราย                     1        2.5        0.9        1.2         1         0.13

                                                  2         3         1.1        3.5        1.4        0.13
                                                  3         5         1.3         4         1.4        0.13
                      ดินมีความอุดมสมบุรณและ     1        0.56      0.75       0.45        0.1        0.03
                      มีปริมาณน้ําฝนมาก           2        1.5         1        2.25        0.5        0.12

                                                  3        2.5        1.5         3          1         0.09
                      ที่มา : ธีระพงษ, 2556 คูมือเกษตรกรการผลิตปาลมน้ํามันอยางมีประสิทธิภาพ.

                                    การใชปุยตามความตองการของปาลมน้ํามัน โดยใชขอมูลการวิเคราะหดินและใบเปนการใช
                      ปุยอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ไดมีการศึกษาถึงปริมาณธาตุอาหารที่เพียงพอสําหรับปาลมน้ํามันวาควรจะ
                      เปนเทาไหร และกําหนดเปนคาวิกฤติไดดังตารางที่ 3

                                                             th
                      ตารางที่ 3 The nutrients concentration of 9  oil palm frond for oil palm less than 6 years

                               Nutrient          Critical           Sufficient           Excessive
                            Total N (g/kg)       <25.00            26.00-29.00            >31.00
                            Total P (g/kg)        <1.50             1.60-1.90              >2.50
                            Total K (g/kg)       <10.00            10.10-10.30            >18.00
                            Total Ca (g/kg)       <3.00             5.00-7.00             >10.00
                            Total Mg (g/kg)       <2.00             3.00-4.50              >7.00

                            Total S (g/kg)        <2.00             3.00-4.00              >6.00
                      Reference: Rankineand Fairhurst (1998)
                                    ในทางปฏิบัติทั่วไป จะใชคาวิกฤตเปนหลักในการจัดการธาตุอาหารพืชของปาลม กลาวคือ ถา
                      คาวิเคราะหใบเบี่ยงเบนต่ําจากคาวิกฤตมากกวา 5% สําหรับไนโตรเจนและฟอสฟอรัส และสําหรับ 10%
                      สําหรับโพแทสเซียม ใหเพิ่มปริมาณปุยอีก 25% จากปริมาณปุยไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส-โพแทสเซียม แตถา
                      เบี่ยงเบนไมต่ํากวา 5% ของไนโตรเจนและฟอสฟอรัส และ 10% สําหรับโพแทสเซียม ใหใสปุยในอัตราเดิม แต
                      ถาระดับธาตุอาหารในใบสูงกวาคาเบี่ยงเบน 5% จากคาวิกฤติควรลดปุยชนิดที่ใหธาตุอาหารนั้นลงประมาณ
                      20% (ชัยรัตนและจําเปน, 2538)

                                                                                                          9
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19