Page 17 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
วัสดุสําหรับการขยายเชื้อ (วัสดุสําหรับการขยายเชื้อ)
1. ปุยหมัก 300 กิโลกรัม
2. รําขาวละเอียด 3 กิโลกรัม
3. น้ํา 20 ลิตร
4. จุลินทรีย ซุปเปอร พด. 9 1 ซอง (100 กรัม)
การขยายเชื้อจุลินทรีย ซุปเปอร พด.9
1. ผสมปุยหมักกับรําขาวละเอียดใหเขากันและละลายจุลินทรียพด.9 ในน้ําและกวน
สวนผสมประมาณ 5 นาที
2. นําจุลินทรีย ซุปเปอร พด. 9 ที่ละลายน้ําเทลงในสวนผสมของปุยหมักและรําขาว
ผสมวัสดุใหเขากันและปรับความชื้นดวยน้ําใหเขากันประมาณ 70 เปอรเซ็นต
3. ตั้งกองปุยหมักในรมเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาใหสูงประมาณ 50 เซนติเมตรใชวัสดุ
คลุมเพื่อรักษาความชื้น
4. ในระหวางขยายเชื้อใหรักษาความชื้นในกองปุยใหไดประมาณ 70 เปอรเซ็นต
5. ขยายเชื้อเปนเวลา 4 วันจึงนําไปใชได
การใชจุลินทรีย ซุปเปอร พด.9 มีประโยชนในการเพิ่มความเปนประโยชนของฟอสฟอรัสใน
ดินกรด ดินเปรี้ยวและเพิ่มการละลายฟอสฟอรัสในหินฟอสเฟตใหอยูในรูปที่พืชใชประโยชนได (กรมพัฒนา
ที่ดิน, 2558)
3.3 ปุยชีวภาพ พด.12
ปุยชีวภาพ พด.12 เปนปุยที่ไดจากการนําจุลินทรียที่มีชีวิตสรางอาหาร ธาตุอาหารหรือชวย
ใหธาตุอาหารเปนประโยชนกับพืชมาใชปรับปรุงดินทางชีวภาพ ทางกายภาพและทางชีวเคมี ทําใหดินมีความ
อุดมสมบูรณเพิ่มมากขึ้น และสรางฮอรโมนสงเสริมการเจริญเติบโตของพืช ประกอบดวย จุลินทรียที่ใหธาตุ
ไนโตรเจน จุลินทรียที่ใหธาตุฟอสฟอรัส จุลินทรียที่ใหธาตุโพแทสเซียม และจุลินทรียที่ผลิตฮอรโมน และสาร
เสริมการเจริญเติบโต
จุลินทรียที่ใหธาตุไนโตรเจน มี 2 กลุม คือ จุลินทรียที่อยูรวมกับพืช ไดแก ไรโซเบียม เปน
จุลินทรียที่มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงมาก สามารถทดแทนไนโตรเจนจากปุยเคมีไดโดยใหกับพืช
อาศัยมากกวา 50 เปอรเซ็นต และจุลินทรียที่อยูอยางอิสระ ไดแก Azotobecter sp., Azospirillum sp. และ
Bacillus sp. เปนจุลินทรียที่สามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศ และเปลี่ยนใหอยูในรูปแอมโมเนียมที่เปน
ประโยชนตอพืช โดยกิจกรรมเอนไซมไนโตรจีเนส (กรมพัฒนาที่ดิน, 2559)
จุลินทรียที่ใหธาตุฟอสฟอรัสมี 2 กลุม คือ จุลินทรียที่ชวยดูดซับธาตุฟอสฟอรัสใหกับพืช
ไดแก ไมโครไรซา ซึ่งเปนจุลินทรียที่อาศัยอยูในรากพืชแบบพึ่งพาซึ่งกันและกันมี 2 ชนิด คือ วี-เอไมโครไรซา
และเอ็คโคไมโครไรซา เปนจุลินทรียที่ชวยเพิ่มพื้นที่ผิวราก และชอนไชเขาไปในดินไดสัมผัสกับธาตุฟอสฟอรัส
และจะดูดธาตุนี้โดยตรง แลวถายทอดตอไปยังรากพืช ซึ่งจะชวยลดการใชปุยเคมีลงไดอยางนอย 25
เปอรเซ็นต (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) นอกจากนี้ เชื้อราไมโคไรซา ยังชวยปองกันไมใหธาตุฟอสฟอรัสที่ละลาย
ออกมา ถูกตรึงโดยปฏิกิริยาทางเคมีของดินดวย เพราะเชื้อรานี้จะชวยดูดซับเก็บไวในโครงสรางพิเศษที่เรียกวา
อาบัสกูลและเวสิเคิล ที่อยูในเซลลพืช จุลินทรียที่ละลายสารประกอบฟอสเฟต โดยทั่วไปประเทศไทยมีปริมาณ
ฟอสเฟตที่ละลายออกมาไดนอย จุลินทรียกลุมนี้สามารถเพิ่มความเปนประโยชนของฟอสฟอรัสจากหิน
ฟอสเฟตใหเปนประโยชนได เชน Bacillus sp., pseudomonas sp., Aspergillus sp. เปนตน และการที่จะ
ใหหินฟอสเฟตละลายไดดีจะตองทําใหเกิดสภาพกรด ซึ่งจุลินทรียเหลานี้จะผลิตกรดออกมาละลายฟอสฟอรัส
ใหอยูในรูปที่เปนประโยชนตอพืชได (มุกดา, 2545)
12