Page 19 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                    สวนผสมที่ใชในการผลิต (สูตรฟอสฟอรัส) ปริมาณ 100 กิโลกรัม
                                          1. หินฟอสเฟต                      80 กิโลกรัม
                                          2. รําขาว                        10 กิโลกรัม
                                          3. ปุยหมัก                       10 กิโลกรัม
                                          4. สารเรงซุปเปอร พด.9           1   ซอง

                                    ขั้นตอนการผลิตปุยอินทรียคุณภาพสูง สูตรฟอสฟอรัส
                                          1. ผสมหินฟอสเฟต รําขาวและปุยหมัก ตามสัดสวนใหเขากัน
                                          2. นําสารเรงซุปเปอร พด.9 จํานวน 1 ซอง เทลงในน้ํา 20 ลิตร คนประมาณ 5-10
                      นาที นําไปรดบนกองวัสดุในขอ 1. คลุกเคลาใหทั่วกองเพื่อปรับความชื้นใหสม่ําเสมอทั่วกอง
                                          3. ตั้งกองปุยหมักเปนสี่เหลี่ยมผืนผา ใหมีความสูงประมาณ 30-50 เซนติเมตร แลว
                      ใชวัสดุคลุมกองใหมิดชิดเพื่อรักษาความชื้น
                                          4. หมักกองปุยเปนเวลา 4-5 วัน จึงนําไปใชได
                                    ประโยชนของปุยอินทรียคุณภาพสูง เปนปุยอินทรียที่มีธาตุอาหารพืชสูง เปนแหลงธาตุอาหาร
                      รองและจุลธาตุแกพืช มีจุลินทรียที่เปนประโยชนตอดินและพืช มีการปลดปลอยธาตุอาหารใหแกพืชแบบชาๆ

                      ทําใหลดการสูญเสียธาตุอาหาร เปนทางเลือกใหกับเกษตรกรในการทดแทนหรือลดการใชปุยเคมี เกษตรกร
                      สามารถผลิตใชเองได (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
                                 4. ปุยคอก (Manure)
                                 ปุยคอก เปนปุยอินทรียชนิดหนึ่ง ซึ่งไดจากการเลี้ยงสัตว จะใหอินทรียวัตถุ ธาตุอาหารหลักและ
                      ธาตุอาหารรองที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช ชวยในการปรับปรุงโครงสรางของดินใหเหมาะสมตอการ
                      เจริญเติบโตของพืช ทําใหดินมีการระบายน้ําและอากาศดีขึ้น ชวยเพิ่มความคงทนใหแกเม็ดดิน เปนการลดการ
                      ชะลางพังทลายหนาดิน นอกจากนี้ ยังเปนแหลงธาตุอาหารของจุลินทรียที่เปนประโยชนในดิน ซึ่งมีผลให
                      กิจกรรมตางๆ ของจุลินทรียดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ และยังเพิ่มปริมาณของจุลินทรีย การใชปุยคอกรอง

                      พื้นรอบโคนตนปาลมน้ํามัน อัตราอยางนอย 20-30 กิโลกรัมตอตนตอป เพื่อปรับคุณสมบัติของดิน ใหรวนซุย
                      สามารถดูดซับน้ําหรือธาตุอาหารไวไดในระยะเวลาที่นานขึ้น (กรมสงเสริมการเกษตร, 2552)

                      ตารางที่ 4 ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากปุยคอกแตละชนิด

                           ชนิดของปุยคอก                              ปริมาณธาตุอาหาร (%)
                                                  ไนโตรเจน      ฟอสฟอรัส  โพแทสเซียม      H      C/N ratio

                                  มูลโค             1.91          0.56        0.40       8.2        15
                                  มูลกระบือ         1.23          0.55        0.69       8.2        15
                                  มูลไก            3.77          1.89        1.76       8.2        13
                                  มูลแกะ            1.87          0.79        1.92        -          -
                                  มูลมา            2.33          0.83        1.31        -          -

                                  มูลสุกร           2.80          1.36        1.18       6.1         -
                                  มูลคางคาว        1.05          14.82       1.84       5.2         -
                      ที่มา: กรมสงเสริมการเกษตร, 2552.





                                                                                                         14
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24