Page 11 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      และคณะ, 2548) ลักษณะดินที่เหมาะสมสําหรับปลูกปาลมน้ํามันควรมีความอุดมสมบูรณดี เปนดินรวนเหนียว
                      ถึงดินเหนียว มีการระบายน้ําดี มีความลึกของชั้นดินมากกวา 75 เซนติเมตร มีธาตุอาหารสูง ความเปนกรดเปน
                      ดางที่เหมาะสมคือ pH 4.0-6.0 มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนมากกวา 20 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม มี
                      โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดมากกวา 0.25 เซนติโมลตอกิโลกรัม มีแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดมากกวา 0.25
                      เซนติโมลตอกิโลกรัม (นิตยา, 2547) สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม ปาลมน้ํามันเจริญเติบโตไดดีในชวงอุณหภูมิ

                      20-30 องศาเซลเซียส และชอบบรรยากาศชุมชื้น โดยความชื้นสัมพัทธของอากาศเฉลี่ยรอบปไมต่ํากวา 75
                      เปอรเซ็นต มีปริมาณน้ําฝนระหวาง 1,800-3,000 มิลลิเมตรตอป มีการกระจายของฝนอยางสม่ําเสมอ แสงไม
                      ต่ํากวา 2,000 ชั่วโมงตอป หรือ 5 ชั่วโมงตอวัน (กรมวิชาการเกษตร, 2547)
                                    หลักการเขตกรรมที่สําคัญเพื่อใหไดผลผลิตปาลมน้ํามันสูงสุด คือ ถาปลูกในที่ราบตองมีรอง
                      ระบายน้ําทุกๆ 4 แถวปาลมที่ปลูก โดยขุดรองลึก 1 เมตร ปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน มีการคลุมดินบริเวณโคน
                      ตน
                                    2.3 การปลูกปาลม
                                    การปลูกปาลมน้ํามันเพื่อใหไดปริมาณและคุณภาพผลผลิตสูงนั้น นอกจากการจัดการดินและ
                      น้ําเหมาะสมแลว การจัดการพืชก็เปนสิ่งที่จําเปน ตั้งแตการเลือกกลา การปลูก ระยะปลูกและการจัดการดูแล

                      รักษาอยางตอเนื่อง เชนการเลือกตนสมบูรณแข็งแรง มีความสูงประมาณ 100-150 เซนติเมตร จากระดับดิน
                      ในถุง และมีใบประกอบรูปขนนก อยางนอย 9 ใบสําหรับชวงฤดูการปลูกปาลมน้ํามันที่เหมาะสมคือปลูกในชวง
                      ฤดูฝน หลังปลูกแลวควรมีฝนตกอยางนอยประมาณ 3 เดือนไมควรปลูกชวงปลายฤดูฝนตอเนื่องฤดูแลงจะพบ
                      ปญหาแลง ขาดน้ํา กลาไมเจริญเติบโตเทาที่ควร
                                    การวางแนวปลูกและเตรียมหลุมปลูก เมื่อเตรียมพื้นที่ปลูกแลว ใหวางแนวปลูกใหสอดคลอง
                      กับความลาดเทของพื้นที่และการระบายน้ํา เตรียมหลุมปลูกรูปตัวยู ขนาดกวางxยาวxลึก 45x45x35
                      เซนติเมตร โดยใชระยะปลูกที่เหมาะสม คือระยะระหวางตน 9 เมตร โดยปลูกเปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา ให
                      แถวปลูกหลักในแนวเหนือ-ใต เพื่อใหปาลมน้ํามันทุกตนไดรับแสงแดดมากที่สุด และสม่ําเสมอเพื่อการ

                      สังเคราะหแสงของปาลม จํานวนตนตอไร 22 ตน การปลูกถี่หรือหางเกินไป มีผลกระทบตอผลผลิต ผลผลิต
                      ลดลง
                                    การปลูก หลังจากเตรียมหลุมปลูกเรียบรอยแลว ตากดินไวประมาณ 10 วัน ใสปุยหิน
                      ฟอสเฟตรองกนหลุมอัตรา 250 กรัมตอหลุม นํากลาปาลมน้ํามันมาปลูกแลวกลบดินใหแนน โคนตนกลาตอง
                      อยูในระดับเดียวกับดินเดิมของแปลงปลูก หลังจากปลูกแลว 1-2 เดือน ควรตรวจสอบความอยูรอดแลวปลูก
                      ซอมทันที ถามีกลาตาย หลังจากปลูกแลวประมาณ 6-8 เดือน ใหตรวจสอบตนปาลมที่มีลักษณะผิดปกติ แลว
                      ทําการปลูกซอมทันที และดูแลตอเนื่อง
                                   2.4 ธาตุอาหารที่สําคัญและการใหปุยสําหรับปาลมน้ํามัน
                                    ธาตุอาหารที่จําเปนสําหรับปาลมน้ํามัน คือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม

                      และโบรอน ธาตุไนโตรเจน มีหนาที่สําคัญในกระบวนการเมทาโบลิซึมของพืช เนื่องจากเปนสวนประกอบที่
                      สําคัญของกรดอะมิโน, โปรตีน, คลอโรฟลล และเอนไซมบางชนิด เปนตัวกระตุนใหเกิดการพัฒนาของเซลล
                      และเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ทําใหพืชมีสีเขียวและมีความแข็งแรง ธาตุฟอสฟอรัส เปนสวนประกอบของกรดนิวคลีอิค
                      และนิวคลีโอโปรตีนซึ่งมีความสําคัญตอยีนต, การแบงเซลลและการสรางเซลลในพืช เปนตัวถายทอดพลังงาน
                      ระหวางสารตอสารในระบบตางๆ เชน การสังเคราะหแสง, การหายใจ, การเคลื่อนยายสาร, ชวยในการ
                      เจริญเติบโตของราก, จําเปนสําหรับการออกดอก ติดเมล็ด และการพัฒนาของเมล็ดหรือผล ธาตุโพแทสเซียม
                      เปนองคประกอบสําคัญของเอนไซมที่ชวยในการสังเคราะหแสง, การสรางโปรตีนและแปง ชวยในการลําเลียง

                      แปงและน้ําตาล, ควบคุมและรักษาระดับความเปนกรดดาง, ควบคุมการเปด-ปดปากใบ, ชวยกระตุนการ

                                                                                                          6
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16