Page 9 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                 2. ปาลมน้ํามัน
                                 ปาลมน้ํามัน (Oil palm) เปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย เนื่องจากปาลมน้ํามันใชใน
                      การอุปโภคบริโภค และในปจจุบันมีบทบาทสําคัญในการผลิตพลังงานทดแทน (ไบโอดีเซล) รัฐบาลจึงมีนโยบาย
                      เกี่ยวกับการผลิตพลังงานทดแทน รวมถึงการเพิ่มปริมาณการใชน้ํามันปาลมภายในประเทศใหมากขึ้น เพื่อลด
                      การนําเขาจากประเทศเพื่อนบาน ซึ่งปาลมน้ํามันเปนพืชน้ํามันที่มีศักยภาพในการแขงขันสูงกวาพืชน้ํามันชนิด

                      อื่น ทั้งดานการผลิต การตลาด และสวนแบงการผลิตน้ํามันปาลมตอน้ํามันพืชของโลก ที่มีแนวโนมจะเพิ่ม
                      สูงขึ้นอยางตอเนื่อง และรวดเร็ว (กรมวิชาการเกษตร, 2548) ที่ผานมา พบวา มีพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันเพิ่มขึ้น
                      โดยในป พ.ศ. 2559 มีพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามัน 5,408,200 ไร ใหผลผลิตแลว 4,520,960 ไร ใหผลผลิต
                      11,662,559 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 2,580 กิโลกรัมตอไร มีการผลิตเพื่อใชภายในประเทศโดยแบงเปน เพื่อการ
                      บริโภค 0.955 ลานตัน และนํามาผลิตไบโอดีเซล 0.829 ลานตัน  มีมูลคาการสงออก 11,300 ลานบาท และมี
                      แนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นทุกป ประเทศไทยมีปริมาณการสงออกเปนอันดับ 3 ของโลก รองจากอินโดนีเซียและ
                      มาเลเซีย ตลาดสงออกที่สําคัญของไทยไดแก มาเลเซีย อินเดีย อิตาลี เมียนมา กัมพูชา (สํานักเศรษฐกิจ
                      การเกษตร, 2560)
                                 ปาลมน้ํามัน มีชื่อวิทยาศาสตร Elaeis guineensis จัดอยูในตระกูลปาลม (Palme หรือ

                      Arecaceae) จัดเปนพืชผสมขาม ใบเลี้ยงเดี่ยว เปนพืชยืนตนที่สามารถใหผลผลิตทะลายสดไดตลอดป ปาลม
                      น้ํามันมีหลายพันธุ พันธุที่ดี คือ พันธุปาลมน้ํามันลูกผสมเทเนอรา (DxP) เปนพันธุลูกผสมที่ไดจากแมพันธุดูรา
                      (Dura) กับพอพันธุฟสิเฟอรา (Pisiifera) โดยเฉพาะแมพันธุเดลิดูรา (Deli Dura) ซึ่งมีลักษณะเดน คือ มี
                      ความสามารถถายทอดลักษณะทางกรรมพันธุที่ดีสูลูกหลาน เชนใหผลผลิตทะลายปาลมสดสูงและสม่ําเสมอ
                      องคประกอบของน้ํามันตอทะลายดี มีการเจริญเติบโตดีและแข็งแรง ซึ่งกรมวิชาการเกษตรไดทําการคัดเลือก
                      ปาลมน้ํามันพันธุดี และสงเสริมใหเกษตรกรนําไปปลูกไดแก พันธุลูกผสมสุราษฎธานี 1 ใหผลผลิตทะลายสด
                      เฉลี่ย 3,450 กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 897 กิโลกรัมตอไรตอป  น้ํามันตอทะลาย 26 เปอรเซ็นต
                      พันธุลูกผสมสุราษฎธานี 2 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 3,617 กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 839 กิโลกรัม

                      ตอไรตอป  น้ํามันตอทะลาย 23 เปอรเซ็นต พันธุลูกผสมสุราษฎธานี 3 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 2,939
                      กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 779 กิโลกรัมตอไรตอป น้ํามันตอทะลาย 27 เปอรเซ็นต พันธุลูกผสม
                      สุราษฎธานี 4 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 3,349 กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 831 กิโลกรัมตอไรตอป
                      น้ํามันตอทะลาย 25 เปอรเซ็นต พันธุลูกผสมสุราษฎธานี 5 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 3,054 กิโลกรัมตอไรตอ
                      ป ผลผลิตน้ํามันดิบ 788 กิโลกรัมตอไรตอป  น้ํามันตอทะลาย 26 เปอรเซ็นต และ พันธุลูกผสมสุราษฎธานี 6
                      ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 3,258 กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 880 กิโลกรัมตอไรตอป  น้ํามันตอ
                      ทะลาย 27 เปอรเซ็นต ปาลมน้ํามัน พันธุลูกผสมสุราษฎรธานี 7 (Deli x Tanzania) ผลผลิตเฉลี่ย 3.64 ตันตอ
                      ไรตอป และชวงเจริญเติบโตเต็มที่ (อายุ 5-10 ป) ใหผลผลิตเฉลี่ย 4.72 ตันตอไรตอป น้ํามันตอทะลายเฉลี่ย
                      24 เปอรเซ็นต เนื้อในตอผลเฉลี่ย 11 เปอรเซ็นต เปลือกนอกสดตอผล 84 เปอรเซ็นต ลักษณะผล ผลดิบสีดํา

                      เมื่อสุกเปลี่ยนเปนสีสมแดง (ศูนยวิจัยปาลมน้ํามันสุราษฎรธานี, 2554) ปาลมน้ํามันแตละพันธุจะมีลักษณะเดน
                      ตางกัน โดยเฉพาะพันธุลูกผสมสุราษฎรธานี 2 และสุราษฎรธานี 4  มีลักษณะเดน คือการใหผลผลิตในแตละป
                      สม่ําเสมอ แมวาสภาพแวดลอมไมเหมาะสม กานทะลายยาวเก็บเกี่ยวงาย มีเนื้อในผล 10 และ 9 เปอรเซ็นต
                      ตามลําดับ (กรมวิชาการเกษตร, 2547)
                                    2.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตรของปาลมน้ํามัน (กรมวิชาการเกษตร, 2547)
                                    ราก เกิดขึ้นตรงโคนของลําตนเปนระบบแขนง (Adventitious root system) มีระบบราก
                      แบบรากฝอย ประกอบดวยรากชุดตางๆประมาณ 4 ชุด ไดแก รากชุดที่ 1 เปนรากที่เจริญมาจากสวนฐานของ

                      ลําตนมีขนาดใหญที่สุดแลวแตกยอยเปนรากชุดที่ 2 รากชุดที่ 3 และรากชุดที่ 4 ตามลําดับ รากชุดที่ 3 จะไมมี

                                                                                                          4
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14