Page 13 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      ตอตน ฟอสฟอรัส 0.47 กิโลกรัมตอตน โพแทสเซียม 1.51 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียม 1.79 กิโลกรัมตอตน
                      แคลเซียม 0.81 กิโลกรัมตอตน ดังนั้น ถาเก็บผลผลิตปาลมน้ํามันไดมากแสดงวามีธาตุอาหารสูญเสียไปจากดิน
                      มาก จําเปนตองเพิ่มธาตุอาหารลงดินใหเพียงพอตอความตองการของปาลมน้ํามัน (ยงยุทธ, 2547)
                                    อัตราการใสปุยตามอายุของปาลมน้ํามัน ดังนี้ (กรมวิชาการเกษตร, 2547)
                                    ปาลมน้ํามันอายุ 1 ป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 1.2 กิโลกรัมตอตน ปุย

                      ฟอสฟอรัสในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 1.3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 0.5 กิโลกรัมตอตน
                      แมกนีเซียมคลอไรด 0.1 กิโลกรัมตอตน และโบเรท 30 กรัมตอตน โดยแบงใสปุยไนโตรเจน 5 ครั้ง และ
                      โพแทสเซียมคลอไรด 3 ครั้ง
                                    ปาลมน้ํามันอายุ 2 ป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 3.5 กิโลกรัมตอตน ปุย
                      ฟอสฟอรัสในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 2.5 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียม
                      คลอไรด 0.5 กิโลกรัมตอตน และโบเรท 60 กรัมตอตน
                                    ปาลมน้ํามันอายุ 3 ป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน ปุย
                      ฟอสฟอรัสในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 3 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียม
                      คลอไรด 1 กิโลกรัมตอตน และโบเรท 90 กรัมตอตน

                                    ปาลมน้ํามันอายุ 4 ป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน ปุย
                      ฟอสฟอรัสในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 4 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียม
                      คลอไรด 1 กิโลกรัมตอตน และโบเรท 100 กรัมตอตน
                                    ปาลมน้ํามันอายุ 5 ป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน ปุย
                      ฟอสฟอรัสในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 4 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียม
                      คลอไรด 1 กิโลกรัมตอตน และโบเรท 80 กรัมตอตน
                                    ปาลมน้ํามันอายุ 6 ปขึ้นไป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน ปุย
                      ฟอสฟอรัสในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 4 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียม

                      คลอไรด 1 กิโลกรัมตอตน และโบเรท 80 กรัมตอตน
                                    อยางไรก็ตาม อัตราปุยที่ใสนั้นจะขึ้นอยูกับปริมาณธาตุอาหารตางๆ ในดินดวย โดยทําการ
                      วิเคราะหดินกอนปลูกเพื่อหาปริมาณธาตุอาหารในดิน ทราบปริมาณธาตุอาหารที่ปาลมน้ํามันตองการ ก็
                      สามารถคํานวณหาปริมาณปุยที่จะใสไดในอัตราที่เหมาะสม
                                    สําหรับวิธีการและระยะเวลาในการใสปุยนั้น ปาลมน้ํามันที่มีอายุ 1 ป หวานสม่ําเสมอภายใน
                      บริเวณรัศมีใกลเคียงกับทรงพุม โดยในปแรกแบงใส 4-5 ครั้งตอป ตั้งแตปที่ 2-3 แบงใส 3 ครั้งตอป ในชวงตน
                      ฝน กลางฝน และปลายฝน แตปาลมน้ํามันที่มีอายุ 5 ปขึ้นไป หวานปุยสม่ําเสมอบริเวณหางจากโคนตน 50
                      เซนติเมตรจนถึงรัศมีรอบทรงพุม แบงใส 2 ครั้ง คือชวงตนฝนและปลายฝน (ธีระ และคณะ, 2546)
                                    การปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน เชน ถั่วพุม ถั่วพรา ชวยรักษาความชื้นในดินและเมื่อสับกลบ

                      จะชวยเพิ่มธาตุอาหารใหแกพืชอีกดวย โดยจากการศึกษาพบวา การปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดินจะชวยเพิ่ม
                      ไนโตรเจนใหแกดินอัตรา 30-40 กิโลกรัมตอไรตอป ชวยลดการใชปุยเคมีและลดตนทุนการผลิตดวย การนํา
                      ทางใบมากองไวระหวางแถวปลูกทุกป เปนการเพิ่มอินทรียวัตถุและไนโตรเจนอีกวิธีหนึ่ง (ธีระและคณะ, 2548)
                                    2.5 การจัดการปุยปาลมน้ํามันในชวงกอนใหผลผลิต (1-3 ป)
                                    โดยปกติปาลมจะใหทะลายลังจากปลูกประมาณ 1-1.5 ป แตในการจัดการปาลมที่ถูกตอง
                      จะตองมีการหักชอดอกทิ้งในชวง 3 ปแรก เพื่อใหการเจริญเติบโตของตนปาลมเจริญเติบโตเต็มที่ ในชวงนี้
                      อาจจะตองใชปุย โดยตองใชการวิเคราะหขอมูลดินและใบ หรือใสตามความอุดมสมบูรณของดิน



                                                                                                          8
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18