Page 12 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      ทํางานของเอนไซมบางชนิด, กระบวนการเมทาโบลิซึมของคารโบไฮเดรตและโปรตีน, ชวยใหทุกสวนของตน
                      พืชและระบบรากแข็งแรง ทนทานตอโรคแมลง,ชวยเพิ่มขนาดผลผลิต เมล็ด และปรับปรุงคุณภาพของผลผลิต
                      ธาตุแมกนีเซียม เปนสวนประกอบของคลอโรฟลล ซึ่งสําคัญสําหรับการสังเคราะหแสง เปนสวนประกอบของ
                      ระบบเอนไซมที่เกี่ยวของกับการสรางแปง สรางกรดนิวคลีอิค เปนตัวกระตุนการทํางานของเอนไซมที่เกี่ยวของ
                      กับการหายใจของเซลลและเมทาโบลิซึมของคารโบไฮเดรท ชวยเสริมสรางการดูดใชและลําเลียงธาตุฟอสฟอรัส

                      ชวยเคลื่อนยายน้ําตาลในพืช และธาตุโบรอน มีความสัมพันธกับเมทาโบลิซึมของคารโบไฮเดรทและกรดนิว
                      คลีอิค การสรางผนังเซลล การแบงเซลล เพิ่มความสามารถในการเคลื่อนยายแปงและน้ําตาลผานผนังเซลล
                      จําเปนสําหรับการสรางโปรตีน ควบคุมสัดสวนระหวางโพแทสเซียมและแคลเซียม เพิ่มหรือสงเสริมการใช
                      ประโยชนของธาตุอื่นๆ เชน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส แคลเซียม ควบคุมการทํางานของธาตุหลายชนิดและ
                      ควบคุมการใชน้ําของพืช การใชปุยชีวภาพจะชวยสงเสริมสมบัติทางกายภาพ ทําใหดินเหนียว มีความรวนซุย
                      ระบายน้ํา อากาศไดดีขึ้น ปรับสภาพทางเคมีโดยลดความเปนกรดดางของดิน ลดความเปนพิษของโลหะหนัก
                      ชวยปลดปลอยธาตุอาหารใหเปนประโยชนตอพืช ชวยเก็บธาตุอาหารไวในดิน และดินที่มีอินทรียวัตถุมาก
                      พอจะตานทานการชะลางพังทลายของดินได (กรมวิชาการเกษตร, 2547)
                                    การเจริญเติบโตในชวง 1-3 ปแรก เปนการเนนการเจริญเติบโตทางลําตนและเตรียมความ

                      พรอมกอนใหผลผลิต ธาตุอาหารหลักที่จําเปน เชน ธาตุฟอสฟอรัส มีบทบาทในการสรางองคประกอบของ
                      เซลล และการสืบพันธุ ทําหนาที่เปนตัวรับและถายทอดพลังงานระหวางสารตางๆ ในกระบวนการสังเคราะห
                      แสง การหายใจ เปนตน หากปาลมน้ํามันขาดธาตุฟอสฟอรัสจะทําใหอัตราการเจริญเติบโตต่ํา ทางใบสั้น ลําตน
                      เล็กและขนาดของทลายปาลมเล็ก หากขาดเปนเวลานานๆ ทรงพุมจะมีลักษณะคลายปรามิด สภาพแวดลอมที่
                      เหมาะสมตอการเจริญเติบโตคือ เปนพื้นที่ราบ มีความอุดมสมบูรณสูง น้ําไมทวมขัง มีการระบายน้ําดี ควรมี
                      ความลาดเทของพื้นที่ไมเกิน 20 องศา มีปริมาณอินทรียวัตถุ แรธาตุอาหารพืชมาก ดินเปนดินรวนถึงดินรวน
                      เหนียว มีความลึกของหนาดินมากกวา 75 เซนติเมตร มีความเปนกรดเปนดาง 4.0-6.0 มีปริมาณน้ําฝน
                      ระหวาง 1,800-3,000 มิลิเมตรตอป มีการกระจายของฝนตลอดทั้งป อุณหภูมิที่เหมาะสม 22-32 องศา

                      เซลเซียส แสงไมต่ํากวา 2,000 ชั่วโมงตอป หรือ 5 ชั่วโมงตอวัน (กรมวิชาการเกษตร, 2547) จากการทดลอง
                      ปาลมน้ํามันสามารถใหผลผลิตสูงในชุดดินนราธิวาส ซึ่งเปนที่มีน้ําทวมขังอยูระยะเวลาหนึ่ง จําเปนตองทําการ
                      ขุดคูยกรองเพื่อปลูก อีกทั้งชุดดินนี้มีคาความเปนกรดรุนแรงหรือดินเปรี้ยวจัด ก็สารมารถสงเสริมการปลูก
                      ปาลมน้ํามันได หากมีการจัดการตามหลักวิชาการ ก็สามารถใหผลผลิตอยูในระดับที่พึงพอใจเชนเดียวกัน
                      (ชัยวัฒนและคณะ, 2548)
                                    การใหปุย ปาลมน้ํามันเปนพืชที่ตองการธาตุอาหารสูง ดังนั้น จําเปนตองประเมินความ
                      ตองการธาตุอาหารของปาลมน้ํามันกอน เพื่อจะไดใสปุยชนิดและอัตราที่เหมาะสม  เปนการลดตนทุนการผลิต
                      วิธีการประเมินความตองการธาตุอาหารของปาลมน้ํามัน มี 2 วิธี คือพิจารณาจากลักษณะอาการที่มองเห็นที่
                      ตนปาลมที่แสดงอาการขาดธาตุอาหาร และจากการวิเคราะหใบปาลมน้ํามัน ซึ่งเปนวิธีที่นิยมและแพรหลายใน

                      ปจจุบัน
                                    จากการวิเคราะหปริมาณการดูดใชธาตุอาหารของปาลมน้ํามันที่อายุตางๆ ตั้งแตปที่ 1-10
                      และปที่ 20 พบวา ปาลมน้ํามันมีการดูดใชธาตุอาหารโพแทสเซียมมากที่สุด รองลงมาคือไนโตรเจน สําหรับ
                      ฟอสฟอรัสและแมกนีเซียมตองการไมมากนัก และพบวาปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจนจะเหลือตกคางอยูในลํา
                      ตน (สวนเหนือดิน) เปนสวนใหญ สวนโพแทสเซียมจะติดไปกลับผลผลิตปาลมน้ํามัน โดยเฉลี่ย ปริมาณธาตุ
                      อาหารที่ติดไปกับผลปาลม 1 ตันของทะลายสด คือ ไนโตรเจน 2.94 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส 0.44 กิโลกรัม
                      โพแทสเซียม 3.71 กิโลกรัม แมกนีเซียม 0.77 กิโลกรัม แคลเซียม 0.81 กิโลกรัม และโบรอน 2.51 กิโลกรัม

                      ในขณะที่ปริมาณธาตุอาหารที่สะสมอยูในสวนเหนือดินของปาลมน้ํามันที่อายุ 20 ป มีไนโตรเจน 3.24 กิโลกรัม

                                                                                                          7
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17