Page 16 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 16
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ขยายตัวของใบและยืดตัวของลําตน สงเสริมการออกดอกและติดผลดี ตานทานโรคและแมลง (กรมพัฒนา
ที่ดิน, 2558)
การผลิตน้ําหมักชีวภาพ พด. 2 โดยมีวัสดุที่ใชในการผลิตน้ําหมักชีวภาพ คือ
น้ําหมักชีวภาพจากผักและผลไม จํานวน 50 ลิตร (ใชเวลาในการหมัก 7 วัน)
1. ผักและผลไม 40 กิโลกรัม
2. กากน้ําตาล 10 กิโลกรัม
3. น้ํา 10 ลิตร (หรือใหทวมวัสดุหมัก)
4. สารเรง พด.2 1 ซอง ( 25 กรัม)
น้ําหมักชีวภาพจากปลาหรือหอยเชอรี่จํานวน 50 ลิตร (ใชเวลาในการหมัก 15-20 วัน)
1. ปลาหรือหอยเชอรี่ 30 กิโลกรัม
2. ผลไม 10 กิโลกรัม
3. กากน้ําตาล 10 กิโลกรัม
4. น้ํา 10 ลิตร (หรือใหทวมวัสดุหมัก)
5. สารเรง พด.2 1 ซอง ( 25 กรัม)
จากการศึกษา พบวา ปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองในน้ําหมักชีวภาพจากปลามี
ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียมและกํามะถันโดยเฉลี่ย 0.98, 1.12, 1.03,
1.66, 0.24 และ 0.20 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองในน้ําหมักชีวภาพจาก
หอยเชอรี่มีปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และกํามะถันโดยเฉลี่ย 0.73,
0.24, 0.89, 2.90, 0.32 และ 0.22 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองในน้ํา
หมักชีวภาพจากผักและผลไมมี ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และ
กํามะถัน โดยเฉลี่ย 0.14, 0.04, 0.53, 0.08, 0.06 และ 0.11 เปอรเซ็นต ตามลําดับ และปริมาณฮอรโมนออก
ซิน จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน และกรดฮิวมิก ในน้ําหมักชีวภาพจากปลา โดยเฉลี่ย 4.01, 33.07, 3.05 และ
3.36 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ปริมาณฮอรโมนออกซิน จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน และกรดฮิว-มิก ในน้ําหมัก
ชีวภาพจากหอยเชอรี่ โดยเฉลี่ย 6.85, 37.14, 13.62 และ 3.07 เปอรเซ็นต ตามลําดับ
(กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
3.2 จุลินทรียเพิ่มความเปนประโยชนของฟอสฟอรัสในดินกรด ดินเปรี้ยว พด.9 หรือ
จุลินทรีย ซุปเปอร พด.9 เปนกลุมจุลินทรียที่มีความสามารถในการละลายฟอสฟอรัสโดยเปลี่ยนรูปจาก
สารประกอบอนินทรียฟอสเฟตที่ไมละลายน้ําหรือที่พืชใชประโยชนไมไดใหอยูในรูปที่พืชใชประโยชนได
ประกอบดวยแบคทีเรีย Burkhoderia sp. 2 สายพันธุโดย จุลินทรียผลิตกรดอินทรีย เชน กรดกลูโคมิค, กรดคี
โตกลูโคมิค, กรดอะซิติค, กรดซิตริค หรือกรดอนินทรีย เชน กรดไนตริก กรดซัลฟูริค กรดไฮโดรคลอริก เปน
ตน รวมกับฟอสฟอรัสที่โดนตรึงเอาไวไดสารประกอบคีเลต ซึ่งพืชสามารถนําไปใชได (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
จากการที่กรดอินทรียและสารฮิวมิคบางชนิดในดินทําปฏิกิริยาคีเลชั่นกับเหล็กและอะลูมินั่มไอออนได
สารประกอบคีเลตที่มีเสถียรภาพ โดยเหล็กและอะลูมินั่มสวนนั้นจะหมดโอกาสที่จะตรึงฟอสฟอรัส ชวยทําให
พืชไดประโยชนฟอสฟอรัสในดินเพิ่มมากขึ้น หากดินปลดปลอยฟอสเฟตไอออนออกมาอยูในรูปสารละลายดิน
ดวยความเขมขนที่เหมาะสมและสม่ําเสมอ พืชก็จะเจริญเติบโตและใหผลผลิตสูง (ยงยุทธ และคณะ, 2551)
11