Page 18 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                   จุลินทรียที่ใหธาตุโพแทสเซียมเปนจุลินทรียที่ปลดปลอยกรดอินทรีย เชน กรดแลคติค, กรดซิ
                      ตริค, กรดออกซาลิค เปนตน หรือกรดอนินทรีย เชน กรดคารบอนิค, กรดไนตริค และกรดซัลฟูริค เปนตน ชวย
                      ละลายแรและวัตถุตนกําเนิดดินที่มีโพแทสเซียมเปนองคประกอบ จุลินทรียที่สามารถปลดปลอยกรดออกมา
                      ละลายแรอะลูมิโนซิลิเกต เชน Bacillus sp. Pseudomonas sp., Aspergillus sp และ Penicilium sp. โดย
                      ละลายไดจากแรในกลุมไมกา และกลุมเฟลดสปารใหอยูในรูปที่พืชสามารถนําไปใชประโยชนได (กรมพัฒนา

                      ที่ดิน, 2551) หรือการที่จะทําใหโพแทสเซียมอยูในลักษณะที่นําไปใชไดมี 3 วิธี คือ การสลายทางกายภาพ ทาง
                      เคมี และทางอินทรีย ซึ่งทําไดโดยการใชจุลินทรียพวกแบคทีเรียเขาชวยยอยสลาย จะทําใหพืชสามารถนํา
                      โพแทสเซียมไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทําใหพืชไร พืชสวน และไมผลมีคุณภาพผลผลิตที่ดีขึ้น
                      (มุกดา, 2545)
                                   จุลินทรียที่ใหธาตุอื่น ๆ เชน ธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริม ไดแก เหล็ก, สังกะสี ซึ่งจะ
                      มีอยูในดินในสภาพที่พืชนําไปใชประโยชนไมได การใชจุลินทรียเขาชวยยอยสลาย สามารถทําใหไดธาตุอาหาร
                      ที่มีในดินเหลานี้มาเปนประโยชนแกพืชไดเพิ่มขึ้น จุลินทรียพวก Silicate bacteria สามารถชวยใหพืชนําซิลิ
                      เกตไปใชได แรธาตุที่มีอยูในดินจะสามารถถูกทําลายโดยกรดที่เกิดจากการหมักของจุลินทรียได (มุกดา, 2545)
                                   จุลินทรียที่สรางสารกระตุนการเจริญเติบโตหรือฮอรโมนพืช คือจุลินทรีย Azotobacter sp.,

                      Azospirillun sp. และ Bacillus sp. ฮอรโมนที่สราง ไดแก ออกซิน มีหนาที่ เกิดการขยายตัวของเซลล การ
                      ติดผลมากขึ้น ปองกันการรวงของผลและใบ ชวยกระตุนการเจริญของรากขนออน และชวยเพิ่มพื้นที่ผิวรากทํา
                      ใหความสามารถในการดูดน้ําธาตุอาหารเพิ่มมากขึ้น เปนตน จิบเบอเรลลิน มีหนาที่ กระตุนการเจริญเติบโต
                      ของพืชทั้งตน กระตุนการงอกของเมล็ด และทําใหเกิดการแทงชอดอก เปนตน และไซโตไคนิน มีหนาที่ กระตุน
                      การแบงเซลล ชะลอกระบวนการเสื่อมสลาย สงเสริมใหพืชมีประสิทธิภาพในการเคลื่อนยายอาหารจากรากสู
                      รากพืช เปนตน
                                    วัสดุขยายเชื้อปุยชีวภาพ พด.12 (วัสดุสําหรับการขยายเชื้อ)
                                          1. ปุยหมัก                       300 กิโลกรัม

                                          2. รําขาว                           3 กิโลกรัม
                                          3. ปุยชีวภาพ พด.12               100 กรัม (1 ซอง)
                                    วิธีการขยายเชื้อ
                                          1. ผสมปุยชีวภาพ พด.12 และรําขาวน้ํา 1 ปบ (20 ลิตร) คนใหเขากันนาน 5 นาที
                                          2. รดสารละลายปุยชีวภาพ พด.12 ลงบนกองปุยหมักและคลุกเคลาใหเขากันปรับ
                      ความชื้นใหได 70 เปอรเซ็นต
                                          3. ตั้งกองปุยหมักเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาใหมีความสูง 50 ซม.และใชวัสดุคลุมกองปุย
                      เพื่อรักษาความชื้น
                                          4. กองปุยหมักไวในที่รมเปนระยะเวลา 4 วัน แลวจึงนําไปใช

                                    การใชปุยชีวภาพ พด.12 มีประโยชนในการลดปริมาณการใชปุยเคมีลงได 25-30% เพิ่มความ
                      เปนประโยชนของฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในดิน เพิ่มประสิทธิภาพการดูดใชธาตุอาหารของพืช ชวยสราง
                      สมดุลของธาตุอาหารพืช ชวยเพิ่มผลผลิตพืช และลดตนทุนการผลิต (กรมพัฒนาที่ดิน, 2559)
                                    3.4 การผลิตปุยอินทรียคุณภาพสูง สูตรฟอสฟอรัส
                                    ผลิตจากหินฟอสเฟตซึ่งมีปริมาณฟอสฟอรัสสูงแตสวนใหญอยูในรูปที่ไมเปนประโยชนตอพืช
                      หมักกับปุยหมัก รําขาว เพื่อชวยในการดูดซับความชื้น และปรับลักษณะวัสดุหมักใหเหมาะสมและใชสารเรง
                      ซุปเปอร พด.9 ซึ่งเปนจุลินทรียที่ละลายหินฟอสเฟตใหอยูในรูปฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืช



                                                                                                         13
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23