Page 8 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      พืช ธาตุอาหารหลักของพืชมีอยูในระดับต่ําคือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม สวนธาตุอาหารบางชนิดมี
                      มากเกินความจําเปนจนกอใหเกิดอันตรายหรือแสดงความเปนพิษตอพืช เชน อะลูมินัม เหล็ก แมงกานีส ความ
                      เปนกรดจัดยังมีผลตอจุลินทรียที่อาศัยอยูในดิน และมีประโยชนตอพืชมีปริมาณลดลง
                                 กลุมชุดดินที่ 14 มีเนื้อดินเปนดินเหนียว ดินบนสีดําหรือสีเทาปนดํา สวนดินชั้นลางสีเทา พบจุด
                      ประสีเหลืองและสีน้ําตาลปะปนเล็กนอย จะพบดินเลนสีเทาปนเขียวและมีสารประกอบกํามะถันอยูมากตั้งแต

                      ความลึก 80 ซม.ลงไป ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรง (pH 4.5) มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ํา
                                 ชุดดินระแงะ (Rangae series: Ra) จัดอยูใน very fine, mixed, superactive, acid,
                      isohypertermic Sulfic Endoaquepts เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําปจจุบัน บนที่ราบน้ําทะเลทวม
                      ถึงมากอน ในแองหรือที่ลุมหลังสันริมน้ําซึ่งอยูติดตอกับที่ราบน้ําทวมถึง สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะราบเรียบ มี
                      ความลาดชันนอยกวา 1 เปอรเซ็นต การไหลบาของน้ําชา จะมีน้ําทวมผิวดิน 8-10 เดือน ใน 1 ป ระดับน้ําใต
                      ดินอยูตื้นกวา 1 เมตร เกือบตลอดป โดยมีลักษณะเนื้อดิน คือ ดินชั้นบนเปนดินรวนเหนียวหรือดินเหนียวมีสีดํา
                      หรือสีเทาปนดํา เนื่องจากมีอินทรียวัตถุมาก ในระดับความลึก 0-25 ซม. ซึ่งเปนสวนของหนาดินมีธาตุอาหาร
                      พืชที่สําคัญต่ํามาก ปฏิกิริยาของดินเปนกรดจัดถึงจัดมาก คาความเปนกรดเปนดาง 4.0-4.5 ดินชั้นลางเปนดิน
                      เหนียวหรือดินเหนียวปนทราย สีน้ําตาลปนเทามีจุดประสีเหลืองในระดับความลึกตั้งแต 50-100 ซม. เปนดิน

                      เลนสีเทาปนน้ําเงิน ที่มีสารประกอบกํามะถัน การระบายน้ําเลวมาก การไหลบาของน้ําบนผิวดินชา การซึม
                      ผานไดของน้ําชา มีน้ําทวมขังตลอดทั้งป (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548) การจัดการดินเปรี้ยวจัด เพื่อการปลูกปาลม
                      น้ํามัน จึงจําเปนตองมีการจัดการดินที่เหมาะสม เพื่อใหไดผลผลิตที่คุมกับการลงทุน ตองมีการวางแผนเตรียม
                      พื้นที่ ตั้งแตการทําถนนในสวนปาลมที่ใชในการเดินทางขนสง เพื่อเขาปฏิบัติการดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยว
                      การทํารองระบายน้ํา การทําคันดินลอมรอบพื้นที่ เพื่อปลูกปองกันน้ําทวม การปรับรูปแปลงนาดินเปรี้ยวจัด
                      (การขุดคูและยกระดับคันดิน) การกําหนดแนวขุดยกรอง ขนาดพื้นที่รองกวาง 8 เมตร และวัดขนาดพื้นที่สวน
                      ที่เปนรองน้ํากวาง 2 เมตร หรือมากกวานี้ เพื่อใหไดดินบนรองปลูกสูงตามที่ตองการ ขุดดินบนในสวนที่เปนรอง
                      น้ําลึกประมาณ 80 เซนติเมตร ไมควรลึก มากกวา 1 เมตร หรือไมลึกถึงชั้นดินเลนที่มีสารประกอบไพไรทอยู

                      ปากบอกวาง 2 เมตร กนบอกวาง 1.5 เมตร นําดินบนไปกองไวกลางพื้นที่สวนที่จะปลูกปาลมน้ํามัน สวนดิน
                      ลาง กองไวถัดออกมาสรางคันดินไดขนาด สูง 0.3-0.5 เมตร โดยบริเวณกลางพื้นที่จะมี สวนสูง และลดระดับ
                      มาจนถึงคูระบายน้ํา ตกแตงสันรองมีขนาด กวาง 8 เมตร และควรยกรองใหคันดินปลูกพืชอยูสูงจากหนาดิน
                      เดิม 50-80 เซนติเมตร เมื่อดําเนินการ เตรียมพื้นที่โดยการขุดยกรองเรียบรอยแลว จะตองแกไขความเปนกรด
                      จัดของดินโดยใสหินปูนฝุน อัตรา 1.4 ตันตอไร หรืออัตราครึ่งหนึ่งของความตองการปูน และควบคูกับการ
                      ควบคุมระดับน้ําไมใหต่ํากวาชั้นดินเลน (พิสุทธิ์ และคณะ, 2536)

                      ตารางที่ 1 สมบัติทางเคมีของดินชุดดินที่ 14 ที่ระดับชั้นความลึกตางๆ

                      ความลึก  อินทรียวัตถุ     ความจุ        ความ     ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียมที่   ความอุดม
                     (เซนติเมตร)             แลกเปลี่ยนแคต    อิ่มตัว     เปน      เปนประโยชน  สมบูรณของ
                                                ไอออน        ดวยเบส    ประโยชน                      ดิน
                        0-25      ปานกลาง      ปานกลาง         ต่ํา       ต่ํา          ต่ํา          ต่ํา

                       25-50         ต่ํา      ปานกลาง         ต่ํา       ต่ํา          ต่ํา       ปานกลาง
                       50-100        ต่ํา      ปานกลาง         ต่ํา       ต่ํา          ต่ํา          ต่ํา
                      ที่มา: สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2548.




                                                                                                          3
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13