Page 6 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 6

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                         หลักการและเหตุผล

                                 การปลูกปาลมน้ํามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด ซึ่งเปนดินที่ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืช ทํา
                      ใหเกษตรกรประสบปญหาดานการปรับปรุงบํารุงดิน การเจริญเติบโตและความสมบูรณของตนปาลมน้ํามัน
                      เนื่องจากมีขอจํากัดหลายอยาง เชน สภาพดินที่มีความเปนกรดรุนแรง สภาพการระบายน้ําเลวถึงเลวมาก มีน้ํา

                      ทวมขังตลอดป และดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ปริมาณธาตุอาหารที่เปนประโยชนตอพืชถูกตรึงไว เชน
                      ฟอสฟอรัสจะถูกตรึงโดยอะลูมินั่มและเหล็ก ปุยแอมโมเนียมและโพแทสเซียมก็ถูกชะลางไดงาย ทําใหมีธาตุ
                      อาหารไมเพียงพอตอการเจริญเติบโต การแบงเซลล การสืบพันธุ กระบวนการสังเคราะหแสง และการหายใจ
                      เปนตน สงผลใหปาลมน้ํามันมีอัตราการเจริญเติบโตต่ํา ลําตนเล็ก ทางใบสั้น ผลผลิตต่ํา เปนตน
                      (เจริญ และคณะ, 2540) เกษตรกรที่ใชพื้นที่ดังกลาวจึงตองใชปุยเคมีในการผลิตปาลมน้ํามันในอัตราที่สูงขึ้น
                      เพื่อใหเพียงพอตอการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามัน โดยพบวาการใชปุยเคมีติดตอกันเปนระยะเวลานานจะทํา
                      ใหดินบริเวณรอบโคนตนแข็งแนนทึบ รากชอนไชไดยาก น้ําซึมผานไดยาก เมื่อดินแหงจะแข็งมาก และการใช
                      ปุยเคมีที่มีความเขมขนสูงอาจจะเปนอันตรายกับจุลินทรียในดินบางชนิด ซึ่งหากเกษตรกรมีการจัดการพื้นที่
                      แบบนี้ไปนาน ๆ จะสงผลกระทบโดยตรงตอการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามัน เกษตรกรจะสูญเสียเงินคาปุยเคมี

                      มากขึ้น ภาระดานตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง และไมสามารถใชพื้นที่ทําการเกษตรแบบยั่งยืนตอไปใน
                      อนาคตได
                                 เปาหมายของโครงการฯ เพื่อการเพิ่มผลิตภาพและศักยภาพของดินเปรี้ยวจัดใหมีความเหมาะสม
                      ตอการปลูกปาลมน้ํามัน เกษตรกรมีความรูเกี่ยวกับการจัดการดินเปรี้ยวจัด น้ํา และธาตุอาหารพืช รวมถึงการ
                      จัดการสวนที่ถูกวิธีและเหมาะสม ซึ่งจะสงผลใหดินมีโครงสรางดี ไมแนนทึบ การชอนไชของรากดี การระบาย
                      น้ํา ถายเทอากาศดี มีคาปฏิกิริยาดินเหมาะสม สามารถเพิ่มความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชใหมากขึ้น
                      และมีการสะสมธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม และฮอรโมนที่เปนประโยชนตอการ
                      เจริญเติบโตใหเพียงพอกับความตองการของปาลมน้ํามัน เพิ่มความเปนประโยชนของธาตุฟอสฟอรัสและ

                      โพแทสเซียมใหมากขึ้น ตนปาลมน้ํามันสามรถเจริญเติบโตและใหผลผลิตที่ดีมีคุณภาพตอไป
                                 ดังนั้น สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 จึงไดจัดทําโครงการวิจัยผลการใชปุยอินทรียรวมกับปูน
                      โดโลไมทในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด เพื่อศึกษาการจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสม โดยการใชโดโลไมทในการปรับ
                      สภาพดิน และการเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยการใชน้ําหมักชีวภาพ พด.2 ปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวย
                      จุลินทรียซุปเปอร พด.9 ปุยชีวภาพ พด.12 ปุยคอก และปุยเคมีในอัตราครึ่งหนึ่งของอัตราแนะนําของกรม
                      วิชาการเกษตร และตามคาวิเคราะหดิน เพื่อเพิ่มผลิตภาพและศักยภาพของดินเปรี้ยวจัดในการเจริญเติบโต
                      ของปาลมน้ํามัน ตนทุนการผลิต และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะไดใชเปนแนวทางปฏิบัติขยายผลสู
                      เกษตรกรในพื้นที่ที่มีสภาพปญหาเดียวกันตอไป



                                                            วัตถุประสงค

                                 ศึกษาการจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชตอการ
                      เจริญเติบโต การเพิ่มผลผลิต ขนาดและน้ําหนักของทะลายปาลมน้ํามัน เพื่อเปนแนวทางการจัดการดินเปรี้ยว
                      จัดเพื่อการผลิตปาลมน้ํามันในดินเปรี้ยวจัดแกเกษตรกร






                                                                                                          1
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11