Page 38 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       30


                       7. ทรัพยากรดินของจังหวัดสระบุรี

                              การสํารวจดินในพื้นที่จังหวัดสระบุรีในชวงที่ผานมา ประกอบไปดวยรายงานการสํารวจดิน
                       จังหวัดสระบุรี ฉบับที่ 28 เปนแผนที่ดินระดับชุดดิน (soil series) มาตราสวน 1:100,000
                       (เฉลิม และ มนัส, 2524) เปนการสํารวจเพื่อใชเปนหลักในการวางแผนพัฒนาดานการเกษตร หรือ

                       แผนอื่น ๆ ในระดับจังหวัด วิธีการสํารวจดินเปนแบบคอนขางหยาบ (detailed reconnaissance
                       survey) โดยใชแผนที่ภาพถายทางอากาศมาตราสวน 1:40,000 และแผนที่สภาพภูมิประเทศ
                       มาตราสวน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร มีการเจาะสํารวจดินประมาณ 1-4 หลุมตอพื้นที่ 1 ตาราง

                       กิโลเมตร ศึกษาและจําแนกดินที่ความลึกประมาณ 1-1.5 เมตร รวมทั้งมีการศึกษาดินตามรอยตัด
                       ขางถนน และเก็บตัวอยางดินเพื่อนํามาวิเคราะหรายละเอียดเพิ่มเติมในหองปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังมี
                       การสํารวจการใชประโยชนที่ดิน และผลผลิตในทองถิ่น ตลอดจนรวบรวมขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับดิน

                       สภาพภูมิประเทศ ตลอดจนสิ่งแวดลอมอื่น ๆ งานสํารวจดินไดเริ่มขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2516
                       และสํารวจแลวเสร็จในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2518 ผลจาการสํารวจดินสามารถจําแนกดินได
                       67 หนวยแผนที่ดิน โดยมีการระบุรายละเอียดของชุดดินที่พบตามสภาพพื้นที่ตาง ๆ  ไดแก ดินที่พบ

                       ในสภาพที่ราบน้ําทะเลเคยขึ้นถึง (former tidal flat) ดินที่ราบน้ําทวม (flood plain) ดินในตะพักลํา
                       น้ําคอนขางใหม (semi-recent terrace) ลานตะพักลําน้ําระดับต่ํา (low terraces) ลานตะพักลําน้ํา
                       ระดับกลาง (middle terraces) และดินที่พบบริเวณพื้นที่ผิวที่เหลือคางจากการกัดกรอน (erosion

                       surface) ตอมาในป พ.ศ. 2543 ไดมีการจัดทําแผนที่กลุมชุดดินมาตราสวน 1:50,000 (สํานักสํารวจ
                       ดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2543)

                              สําหรับการสํารวจและจัดทําขอมูลดินครั้งลาสุดใน ป พ.ศ. 2553 สํานักสํารวจดินและวาง
                       แผนการใชที่ดิน ไดจัดทํารายงานสํารวจดินเพื่อการเกษตร จังหวัดสระบุรี มาตราสวน 1:25,000 เพื่อ
                       ปรับปรุงขอมูลดินตาง ๆ ใหมีความละเอียดและถูกตองมากขึ้น โดยใชขอมูลภาพถายทางอากาศสีที่

                       ถายในป พ.ศ. 2545-2546 ขอมูลเสนชั้นความสูง และแบบจําลองระดับสูงเชิงเลขมาใชในการ
                       วิเคราะหและเปนแผนที่ฐานในการทําแผนที่ขอบเขตดินเบื้องตน โดยในการสํารวจครั้งนี้จัดทําในรูป
                       ของกลุมชุดดิน จากผลการสํารวจ ศึกษาลักษณะและสมบัติของดินในจังหวัดสระบุรี ไดจําแนกดิน

                       ออกเปน 21 กลุมชุดดิน แบงออกเปน กลุมชุดดินในพื้นที่ลุมพบ 7 หนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 1
                       2 4 7 10 11 16 กลุมชุดดินในพื้นที่ดอนพบ 14 หนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 28 29 31 33 36
                       38 47 48 52 54 55 56 60 และ 62 และพื้นที่เบ็ดเตล็ด 7 หนวยแผนที่ (สํานักสํารวจและวิจัย

                       ทรัพยากรดิน, 2553)
                              ทรัพยากรดินปญหาของจังหวัดสระบุรี พบวา มีพื้นที่ลาดชันเชิงซอนมากที่สุด คิดเปนรอยละ
                       23.34 ของพื้นที่จังหวัด รองลงมาปญหาดินตื้นรอยละ 12.56 แบงเปน ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นหินพื้น

                       รอยละ 9.21 และ ดินตื้นในพื้นที่ดอนถึงชั้นมารลหรือกอนปูน รอยละ 3.35 ดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา
                       รอยละ 8.11 แบงเปน ดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ําในพื้นที่ลุมที่เปนกรด รอยละ 5.18 ดินที่มีความ
                       อุดมสมบูรณต่ําในพื้นที่ดอนที่เปนกรด รอยละ 2.93 และปญหาดินเปรี้ยวจัด รอยละ 4.66 แบงออกเปน

                       ดินเปรี้ยวจัดพบชั้นดินกรดกํามะถันในระดับตื้น รอยละ 2.98 และ ดินเปรี้ยวจัดพบชั้นดินกรดกํามะถัน
                       ในระดับลึก รอยละ 1.68 ของพื้นที่จังหวัด (กรมพัฒนาที่ดิน, 2561)
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43