Page 42 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       34


                              1.4 เครื่องมือจัดทําแผนที่
                                 1) คอมพิวเตอร

                                 2) โปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับจัดทําแผนที่ในรูปแบบดิจิตอล

                       2. วิธีการดําเนินงาน

                              2.1 การศึกษา การวิเคราะหขอมูลดานกายภาพ และสภาพปญหา เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ํา
                       คลองวังยาง จังหวัดสระบุรี
                                 1) รวบรวมขอมูลทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง
                       จังหวัดสระบุรี ไดแก ขอมูลสภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยา ภูมิสัณฐาน

                       วัตถุตนกําเนิดดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรดิน และสภาพการใชที่ดินจากแผนที่มาตราสวน 1:25,000
                                 2) ศึกษาและวิเคราะหขอมูลกลุมชุดดิน สภาพการใชที่ดินพรอมทั้งประเมินความ

                       เหมาะสมของดินสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ
                                  3) วิเคราะหสภาพปญหาทรัพยากรดินและแนวทางการแกไขในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุม
                       น้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี
                                 4) กําหนดพื้นที่ดําเนินการในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง โดยการคัดเลือก

                       พื้นที่บางสวนที่มีลักษณะเปนตัวแทน หรือครอบคลุมสภาพปญหาเพื่อศึกษาพื้นที่อยางละเอียด
                       โดยการสํารวจดิน สภาพการใชที่ดินในระดับละเอียด รวมถึงสภาพแวดลอมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

                              2.2 การศึกษา การวิเคราะหขอมูลดานกายภาพ และสภาพปญหา ในพื้นที่ดําเนินการ

                                 1) การเตรียมขอมูลในสํานักงาน
                                    (1) รวบรวมขอมูลทั่วไปของพื้นที่ ไดแก ที่ตั้งและอาณาเขต แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่

                       ธรณีวิทยา ภาพถายออรโธสี (มาตราสวน 1:4,000) แบบจําลองระดับสูงเชิงเลข (DEM) เสนชั้นความสูง
                       (contour) ขอมูลทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา และสภาพการใชประโยชนที่ดิน เปนตน
                                    (2) วิเคราะหขอมูลทั้งหมด แปลภาพถายสภาพการใชประโยชนที่ดิน เขียนขอบเขตดิน
                       เบื้องตนและกําหนดหลุมเจาะดินลงบนภาพถายออรโธสีเชิงเลข มาตราสวน 1:4,000 เพื่อเปนตัวแทน

                       ตรวจสอบดินในพื้นที่
                                    (3) จัดเตรียมอุปกรณที่ใชในการสํารวจดินและสํารวจสภาพการใชที่ดิน ไดแก

                       แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ดิน แผนที่สภาพการใชที่ดิน แผนที่ธรณีวิทยา แผนที่ภาพถายออรโธสีเชิงเลข
                       สมุดเทียบสี สวานเจาะดิน พลั่วขุดดิน คอนยางตอกดิน มีดสนาม แวนขยาย เทปวัดระยะ เข็มทิศ
                       สมุดบันทึก และอื่น ๆ ใหพรอมสําหรับการดําเนินงาน

                                 2) การปฏิบัติงานภาคสนาม

                                    การสํารวจดินและการสํารวจสภาพการใชที่ดินเปนการสํารวจแบบละเอียดโดยใช
                       แผนที่ภาพถายออรโธสีเชิงเลข มาตราสวน 1:4,000 และแผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1:50,000
                       เปนแผนที่พื้นฐานในการสํารวจ แผนที่ที่ผลิตออกมามีมาตราสวน 1:4,000 โดยมีวิธีการสํารวจ ดังนี้
                                    (1) สํารวจและตรวจสอบลักษณะดินตามหลุมเจาะที่กําหนดไว โดยใชพลั่วเปด

                       หนาดิน แลวใชสวานเจาะดิน ลึกอยางนอย 200 เซนติเมตร หรือตื้นกวาหากพบชั้นขัดขวาง เชน
                       หินพื้น ชั้นดาน ชั้นดินแนน หรือชั้นศิลาแลง เพื่อวินิจฉัยสมบัติของดินแตละชั้นตามการกําเนิดดิน เชน

                       สีดิน เนื้อดิน ความลึกของดิน พีเอชของดิน เปนตน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47