Page 36 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       28


                                        (18) การยึดตัวขณะดินชื้น (moist consistence : u)
                                        (19) ความเค็มของดิน (salinity : x)

                       6. การประเมินการสูญเสียดิน

                              การชะลางพังทลายของดินที่เปนเหตุใหมีการสูญเสียหนาดิน การสูญเสียธาตุอาหารพืช ทําให

                       คุณภาพของทรัพยากรดินเสื่อมโทรมลง มีผลกระทบทําใหผลผลิตของพืชลดลง เกิดการทับถมของ
                       ตะกอนในลําน้ําและแหลงน้ําตาง ๆ ทําใหเกิดการตื้นเขิน และปริมาณการเก็บกักน้ําลดลง เปนตน
                       การสูญเสียดินเกิดขึ้นใน 2 ลักษณะ คือ เกิดขึ้นตามธรรมชาติเนื่องจากการกระทําของน้ํา ลม และแรง
                       โนมถวงของโลก และเกิดขึ้นแบบมีตัวเรงโดยเฉพาะการใชประโยชนที่ดินของมนุษยที่ไมคํานึงถึง

                       ศักยภาพของที่ดินและขาดมาตรการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม การประเมินการสูญเสียดินในพื้นที่
                       คํานวณโดยใชสมการการสูญเสียดินสากล (Wischmeier และ Smith, 1978) โดยมีรูปแบบของ

                       สมการ ดังนี้ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2543)
                                                            A = R K L S C P

                              A = ปริมาณการสูญเสียดิน ตอหนวยของพื้นที่ซึ่งไดจากการคํานวณคาปจจัยทั้ง 6 ปจจัย

                       มีหนวยเปน ตัน/เฮกตาร/ป
                              R = ปจจัยของน้ําฝนและการไหลบา (rain and run off factor)
                              K = ปจจัยความคงทนตอการชะลางพังทลายของดิน (soil erodibility factor)
                              L = ปจจัยความยาวของความลาดชัน (slope-length factor)

                              S = ปจจัยความลาดชันของพื้นที่ (slope steepness factor)
                              C = ปจจัยการจัดการพืช (cropping management factor)

                              P = ปจจัยการปฏิบัติการปองกันการชะลางพังทลาย (erosion control practice)

                              A เปนคาการสูญเสียดินตอหนวยของพื้นที่ ซึ่งไดจากการคํานวณโดยการคูณคาปจจัยตาง ๆ
                       6 ปจจัย คานี้เปนการประเมินคาเฉลี่ยรายปของการชะลางพังทลายของชองระหวางรองริ้วกับรองริ้ว
                       จากพายุฝน สําหรับพื้นที่ดอนคานี้โดยทั่วไปไมรวมการชะลางพังทลายจากรองลึกริมฝงน้ําหรือการ

                       พังทลายจากลม แตคา A นี้จะรวมตะกอนดินที่ถูกพัดพามากอนที่จะถึงตอนลางของลําน้ําหรือในอาง
                       เก็บกักน้ํา
                              R คือ rainfall factor เปนคาดัชนีของการชะลางพังทลายดินของฝน ในปที่มีฝนตกระดับ
                       ปกติ (normal year’s rain) K เปนคาปจจัยความคงทนตอการชะลางพังทลายของดิน เปนคาเฉพาะ

                       แตละชั้นของดิน คา K เปนคาที่แสดงความหมายถึงการสูญเสียดินตอหนวยของพื้นที่ตอหนวยแปลง
                       ทดลอง

                              K คือ คาความคงทนตอการชะลางพังทลายของดิน เปนอัตราการสูญเสียดิน ตอหนึ่งหนวย
                       ของดัชนีการชะลางพังทลาย (erosion index) สําหรับดินชนิดใดชนิดหนึ่ง ในลักษณะของหนาดินที่
                       ทําเปนรองไถพรวนขึ้น-ลงติดตอกันยาว 72.6 ฟุต (22.13 เมตร) บนพื้นที่ลาดชัน 9 เปอรเซ็นต
                              L คือ คาอิทธิพลของความยาวของความลาดชันที่มีตอการชะลางพังทลายของดิน (slope

                       length factor) เปนคาที่ไดจากอัตราสวนการสูญเสียดิน จากความยาวของความลาดชันชวงใด
                       ชวงหนึ่งกับความยาวมาตรฐาน คือ 72.6 ฟุต หรือ 22.13 เมตร ซึ่งอยูบนแนวความลาดเทอันเดียวกัน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41