Page 40 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       32


                              ฉลวย และคณะ (2558) ทําการศึกษาการจัดการดินเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณใหกับดินดาง
                       ใหมีความเหมาะสมตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จากผลการศึกษา พบวา การใสปุยอินทรีย

                       คุณภาพสูงสูตร ไนโตรเจนและสูตรฟอสฟอรัส อัตรา 100 กิโลกรัมตอไร รวมกับปุยเคมีสูตร 0-0-60
                       อัตรา 8.5 กิโลกรัมตอไร และปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 5.5 กิโลกรัมตอไร สงผลใหปริมาณอินทรียวัตถุ
                       เพิ่มขึ้นจาก 2.99 เปน 3.43 เปอรเซ็นต  วิธีการใสปุยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 40 กิโลกรัมตอไร

                       รวมกับปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัมตอไร มีผลทําใหการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวโพดเลี้ยง
                       สัตวสูงสุด และการใสปุยอินทรียคุณภาพสูงสูตรฟอสฟอรัส อัตรา 200 กิโลกรัมตอไร ใหผลตอบแทน
                       ทางเศรษฐกิจเฉลี่ยสูงที่สุด

                              สายวรุน และคณะ (2559) ศึกษาการจัดการดินที่มีความเหมาะสมสําหรับปลูกขาวโพดเลี้ยง
                       สัตวในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง ในกลุมชุดดินที่ 28 ชุดดินลพบุรี ทําการทดลองในแปลงเกษตรกรในพื้นที่

                       ตําบลนายาว อําเภอพระพุทธบาท จังหวัดระบุรี วางแผนการทดลองแบบ RCBD ประกอบดวย
                       5 ตํารับ 4 ซ้ํา ดังนี้ 1) วิธีการเกษตรกร  2) วิธีการเกษตรกรรวมกับน้ําหมักชีวภาพ 3) วิธีการใชปุย

                       ตามคําแนะนําโปรแกรมดินไทยและธาตุอาหารพืชรวมกับน้ําหมักชีวภาพ 4) วิธีการใชปุยตาม
                       คําแนะนําโปรแกรมการใชปุยรายแปลงรวมกับน้ําหมักชีวภาพ 5) วิธีการใชปุยตามคําแนะนําจาก
                       หองปฏิบัติการวิเคราะหดินรวมกับน้ําหมักชีวภาพ ผลการศึกษา พบวา การใสปุยตามคําแนะนําจาก
                       หองปฏิบัติการวิเคราะหดินรวมกับน้ําหมักชีวภาพ มีผลทําใหขาวโพดเลี้ยงสัตวมีผลผลิตเฉลี่ยสูงที่สุด

                       เทากับ 1,847.73 กิโลกรัมตอไร แตวิธีการใชปุยตามคําแนะนําของโปรแกรมการใชปุยรายแปลง
                       มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สูงที่สุด เทากับ 6,270.6 บาทตอไร ดังนั้นการใชปุยตามคําแนะนํา
                       โปรแกรมการใชปุยรายแปลงจึงเหมาะสมที่สุดสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ที่มีความ

                       เหมาะสมสูง กลุมชุดดินที่ 28 จังหวัดสระบุรี
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45