Page 43 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       35


                                    (2) ศึกษาสภาพแวดลอมในพื้นที่นั้น ๆ โดยเฉพาะปจจัยที่มีอิทธิพลตอกระบวนการ
                       ทางดิน เชน ลักษณะทางธรณีวิทยา วัตถุตนกําเนิดดิน ภูมิสัณฐาน การกรอนของดิน และพืชพรรณ

                       เปนตน
                                    (3) บันทึกขอมูลการตรวจสอบดินภาคสนาม เชน ความหนาของชั้นดิน เนื้อดิน
                       สีดิน โครงสรางของดิน การยึดตัวของอนุภาคดิน การเคลื่อนยายของอนุภาคดินเหนียว ปริมาณการ

                       กระจายของรากพืช คาปฏิกิริยาดิน การจัดเรียงตัวของชั้นดิน ชนิดของชิ้นสวนหยาบในดิน หรือวัตถุ
                       ตาง ๆ ที่พบในชั้นดิน เชน กอนกรวด ลูกรัง และเศษหิน เปนตน
                                    (4) จําแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดินของ USDA (United States Department

                       of Agriculture) ตามรายละเอียดของหนังสือ Keys to Soil Taxonomy (Soil Survey Staff, 2014)
                       กําหนดหนวยแผนที่ดิน โดยจําแนกดินถึงระดับชุดดิน (soil series) หรือดินคลาย (soil variant)
                       รวมกับประเภทของดินที่พบ ไดแก ประเภทเนื้อดินบน (texture phase) ความลาดชัน (slope

                       phases) ชั้นความลึก (depth) ชั้นของการกรอน (degree of erosion classes) พรอมทั้งปรับแก
                       ขอบเขตดินใหสอดคลองกับพื้นที่จริง
                                    (5) เก็บตัวอยางดินตัวแทนในพื้นที่ดําเนินการเพื่อสงวิเคราะหหาความอุดมสมบูรณ

                       ของดินในหองปฏิบัติการ
                                    (6) สํารวจสภาพการใชที่ดิน พรอมทั้งปรับแกไขขอบเขตสภาพการใชที่ดินลงบนภาพ
                       ออรโธสีใหถูกตอง สอดคลองกับสภาพพื้นที่จริง

                                    (7) จัดทําแผนที่ดินและแผนที่สภาพการใชที่ดินฉบับตนราง
                                    (8) สํารวจขอมูลอื่น ๆ ที่สําคัญ เชน ที่ตั้งสถานที่ราชการ และถนน เปนตน

                                 3) การจัดทําแผนที่และรายงานสํารวจดิน
                                    (1) สรุปหนวยแผนที่ดินและขอบเขตสภาพการใชที่ดินทั้งหมดที่ไดจากการสํารวจ

                       ภาคสนาม และจัดทําแผนที่โดยการถายทอดขอบเขตและหนวยแผนที่ลงบนภาพถายออรโธสีที่ใชเปน
                       แผนที่พื้นฐาน ดวยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อจัดทําเปนแผนที่ดินตนฉบับ
                                    (2) วิเคราะหขอมูลเพื่อสรุปศักยภาพดิน ประเมินความเหมาะสมของดินสําหรับพืช

                       เศรษฐกิจ และความเหมาะสมของดินทางดานปฐพีกลศาสตร เพื่อกําหนดแผนการใชที่ดินใหเหมาะสม
                       และสอดคลองกับสภาพความเปนจริงในปจจุบัน รวมทั้งขอเสนอแนะและแนวทางการแกไขปญหา
                       ทรัพยากรดิน การจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํา การปรับปรุงบํารุงดิน เพื่อใหเปนประโยชนตอเกษตรกร

                       ในพื้นที่
                                    (3) รวบรวมขอมูลทั่วไปของพื้นที่โครงการ เชน ที่ตั้งและอาณาเขต สภาพภูมิอากาศ
                       สภาพภูมิประเทศ เสนทางคมนาคม ทางลําเลียงในไรนา สถานที่สําคัญตาง ๆ และแหลงน้ํา เปนตน

                       เพื่อใชประกอบในการเขียนรายงานการสํารวจดิน
                                    (4) เขียนรายงานการสํารวจดิน จัดพิมพรายงาน สงใหสถานีพัฒนาที่ดินและเปน
                       เอกสารเผยแพรตอไป
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48