Page 34 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       26


                                     การวินิจฉัยคุณภาพของดินดานวิศวกรรมจะเนนงานเฉพาะดาน ดังนี้
                                        1) การใชเปนแหลงหนาดิน (soil suitability as source of topsoil)

                                        2) การใชเปนแหลงทรายและกรวด (soil suitability as probable source of
                       sand and gravel)
                                        3) การใชเปนดินถมหรือดินคันทาง (soil suitability for road fill of

                       subgrade)
                                        4) การใชเปนเสนทางแนวถนน (soil suitability for highways roads and
                       streets location)

                                        5) การใชทําบอขุด (soil suitability for excavated ponds)
                                        6) การใชเปนพื้นที่อางเก็บน้ําขนาดเล็ก (soil suitability for pond reservoir
                       area)

                                        7) การใชสรางคันกั้นน้ํา (soil suitability for pond embankment)
                                        8) การใชทําระบบบอเกรอะ (soil suitability for septic tanks)
                                        9) การใชสรางโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (soil suitability for light

                       industries)
                                        10) การใชสรางอาคารต่ํา ๆ (soil suitability for low building foundation)
                                        11) เพื่อการใชยานพาหนะในชวงฤดูฝน (soil suitability for traffic ability in

                       wet season)
                                     การวินิจฉัยคุณภาพของดินดานวิศวกรรม ดินแตละชุดจะมีความเหมาะสมในการใช
                       ประโยชนตางกันขึ้นอยูกับขอจํากัดของการใชประโยชนและคุณลักษณะของดินเปนสําคัญ โดยไดแบง

                       ระดับความเหมาะสมของดินสําหรับการใชเปนวัสดุหนาดิน แหลงทรายและกรวด ดินถมหรือดิน
                       คันทาง การใชเปนเสนทางแนวถนนไว 4 ระดับ โดยใชหมายเลขตาง ๆ แทนระดับความเหมาะสม
                       ดังนี้
                                        1     หมายถึง   เหมาะสมดี (good)

                                        2     หมายถึง   เหมาะสมปานกลาง (fair)
                                        3     หมายถึง   ไมเหมาะสม (poor)

                                        4     หมายถึง   ไมเหมาะสมอยางยิ่ง (very poor)
                                     สําหรับการใชทําบอขุด อางเก็บน้ําขนาดเล็ก คันกั้นน้ํา ระบบบอเกรอะ การสราง
                       โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก อาคารต่ํา ๆ และการใชยานพาหนะในชวงฤดูฝน ไดจัดระดับความ
                       เหมาะสมไว 3 ระดับ โดยใชหมายเลขตาง ๆ แทนระดับความเหมาะสม ดังนี้

                                        1     หมายถึง   เหมาะสมดี (good)
                                        2     หมายถึง   เหมาะสมปานกลาง (fair)

                                        3     หมายถึง   ไมเหมาะสม (poor)
                                     ระดับความเหมาะสมแตละระดับ มีความหมาย ดังนี้
                                        เหมาะสมดี (good) คือ ดินที่ไมมีหรือมีขอจํากัดเล็กนอย คุณสมบัติตาง ๆ
                       เหมาะสมตามที่กําหนดไว จะมีขอจํากัดบางก็เล็กนอยและสามารถแกไขไดงาย การดูแลรักษาและการ

                       ปรับปรุงบํารุงดินทําไดงายและเสียคาใชจายนอย
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39