Page 37 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       29


                              S คือ คาอิทธิพลของความลาดชัน (slope-gradient factor) เปนอัตราสวนของการสูญเสีย
                       ดินจากความลาดชันระดับใดระดับหนึ่ง ตอความลาดชัน มาตรฐานที่ 9 เปอรเซ็นต

                              C คือ คาอิทธิพลของพืชหรือสิ่งปกคลุม (cropping management factor) เปนอัตราสวน
                       ของการสูญเสียดินระหวางพื้นที่ที่มีพืชชนิดใดชนิดหนึ่งปกคลุมอยูกับการสูญเสียดินจากบริเวณไถ

                       พรวนที่ปราศจากพืชคลุมดิน ซึ่งใชในการหาคาความคงทนของดิน

                              P คือ คาอิทธิพลของมาตรการที่ใชในการควบคุมการชะลางพังทลายของดิน (erosion-control
                       factor) เปนคาอัตราสวนของการสูญเสียดิน จากพื้นที่ที่มีวิธีการอนุรักษดินและน้ําแบบตาง ๆ
                       เชน การไถพรวนตามแนวระดับ (contouring) การปลูกพืชเปนแถบ (strip cropping) การทําขั้นบันได
                       (terracing) กับบริเวณที่ปลูกพืชขึ้นลงตามแนวขนานความลาดชัน

                              การจัดชั้นความรุนแรงของการชะลางพังทลายของดินการสูญเสียดิน ซึ่งมีผลกระทบเสียหาย

                       รุนแรงหรือไมยอมขึ้นกับลักษณะของดินในแตละพื้นที่ หากกระบวนการเกิดดินเปนไปอยางรวดเร็ว
                       ดินลึกและมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติสูงแมจะมีอัตราการสูญเสียดินสูงก็อาจไมมีผลกระทบตอ
                       การใชที่ดิน ตรงกันขามถาดินตื้น มีความอุดมสมบูรณต่ํา และกระบวนการเกิดดินเปนไปอยางชา ๆ
                       แมมีการสูญเสียดินเพียงเล็กนอยก็อาจจะสงผลลกระทบเสียหายรุนแรงตอการใชประโยชนบนที่ดินนั้น

                       คาการสูญเสียดินเมื่อนํามาการสูญเสียดินได คาการสูญเสียดินที่คํานวณไดจากสมการการสูญเสียดิน
                       สากล สามารถนํามาจัดชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดินในประเทศไทย และแสดงผลออกมา
                       เปนแผนที่การสูญเสียดิน มีจุดมุงหมายเพื่อใหทราบถึงขอบเขตของพื้นที่ที่มีปญหาเนื่องจากการ

                       สูญเสียดิน ตลอดทั้งระดับความรุนแรงของการสูญเสียดินที่เกิดขึ้นในภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ
                       เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนอนุรักษดินและน้ํา ระดับเขตพัฒนาที่ดิน ระดับภาค และระดับประเทศ
                       ตอไป กรมพัฒนาที่ดินไดมีการกําหนดชั้นความรุนแรงของการชะลางพังทลายของดินในประเทศไทย

                       จัดแบงไว 5 ระดับ (ตารางที่ 10)

                       ตารางที่ 10 การจัดชั้นความรุนแรงของการชะลางพังทลายของดิน


                                 ชั้นความรุนแรง                          อัตราการสูญเสียดิน
                              ของการพังทลายของดิน                  ตันตอไรตอป          มิลลิเมตรตอป

                                 1 : นอยมาก                           0-2                    0-0.96
                                 2 : นอย                              2-5                   0.96-2.40

                                 3 : ปานกลาง                          5-12                   2.40-7.20
                                 4 : รุนแรง                           15-20                  7.20-9.60

                                 5 : รุนแรงมาก                      มากกวา 20              มากกวา 9.60
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42