Page 35 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       27


                                        เหมาะสมปานกลาง (fair) คือ ดินที่มีคุณสมบัติเหมาะสมปานกลาง ขอจํากัดใน
                       การใชอาจจะมีบางซึ่งตองแกไขโดยการวางแผนและออกแบบใหเขากับสภาพและลักษณะของดิน

                       อาจจะตองมีการบํารุงรักษาเปนพิเศษ แผนงานการกอสรางอาจจะตองแกไขดัดแปลงบางจากแผน
                       เดิมที่ใชกับดินที่มีขอจํากัดเพียงเล็กนอย การกอสรางฐานรากหรือตอหมอควรเสริมใหมั่นคงเปนพิเศษ
                                        ไมเหมาะสม (poor) คือ ดินที่มีคุณสมบัติที่ไมเหมาะสมเพียงอยางเดียวหรือ

                       มากกวาและขอจํากัดนั้น ๆ มีความยุงยากในการดัดแปลงแกไขและตองเสียคาใชจายสูง จําเปนตองมี
                       การปรับปรุงและฟนฟูดินเปนหลัก นอกจากนั้นตองมีการออกแบบเปนพิเศษตลอดจนมีการ
                       บํารุงรักษาดินอยางสม่ําเสมอยิ่งขึ้น

                                        ไมเหมาะสมอยางยิ่ง (very poor) คือ ในการใชประโยชนของดินทางวิศวกรรม
                       บางอยางจะเปนการเพิ่มความเสียหาย จึงเปนเหตุใหตองจัดระดับของดินไวในระดับไมเหมาะสมอยางยิ่ง
                       ระดับนี้ดินมีคุณสมบัติไมเหมาะสมเพียงประการเดียวหรือมากกวาสําหรับการใชประโยชนในกิจกรรม

                       เฉพาะอยาง ซึ่งจะแกไขขอจํากัดไดยากที่สุดและเสียคาใชจายสูง การปรับปรุงฟนฟูดินเปนสิ่งจําเปน
                       เชน การขุดเอาดินออกและนําดินอื่นมาถมแทน เปนการแกไขดัดแปลงที่สมบูรณแบบที่สุด ระดับนี้
                       ควรใชกับชนิดของดินที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงมากในการที่จะนํามาใชประโยชน ซึ่งสวนใหญดิน

                       เหลานี้จะไมไดนํามาประเมินคาการใช
                                     การแสดงขอจํากัดของดินที่ทําใหดินนั้นไมเหมาะสมอยางยิ่ง ไมเหมาะสม หรือ
                       เหมาะสมปานกลาง จะใชสัญลักษณที่เปนภาษาอังกฤษกํากับทายตัวเลขที่แสดงระดับความเหมาะสม

                       หลักของดิน ไดแก
                                        (1) ลักษณะของดินตามการจําแนก (subgrade properties : a) ระบบ Unified
                       และ AASHO

                                        (2) ความหนาของวัสดุที่เหมาะสม (thickness of suitable material : b)
                                        (3) ความลึกถึงชั้นหินพื้น (depth of bedrock : c)
                                        (4) การระบายน้ําของดิน (drainage : d)
                                        (5) อันตรายจากน้ําทวมหรือน้ําแชขัง (flooding hazard : f)

                                        (6) ปริมาณเศษหินที่มีขนาดใหญกวาทรายหยาบมาก (fragment coarser than
                       very coarse sand % : g)

                                        (7) ระดับน้ําใตดินในฤดูฝน (depth to seasonal water table : h)
                                        (8) ปฏิกิริยาของดิน (reaction : j)
                                        (9) ความซึมน้ําของดิน (permeability or hydraulic conductivity : k)
                                        (10) ศักยภาพในการยืดและหดตัวของดิน (shrink - swell potential : l)

                                        (11) ความลึกถึงชั้นที่มีการซาบซึมน้ํา (depth to permeable material : m)
                                        (12) การกัดกรอนของทอเหล็กที่ไมเคลือบผิว (corrosivity uncoated steel : o)

                                        (13) การมีกอนหิน (stoniness : p)
                                        (14) ความลึกถึงชั้นทรายหรือกรวด (depth to sand and gravel : q)
                                        (15) การมีหินโผล (rockiness : r)
                                        (16) เนื้อดิน (texture : s)

                                        (17) สภาพภูมิประเทศหรือความลาดชัน (topography or slope : t)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40