Page 33 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       25


                                             (15) การกรอนของดิน (soil erosion : e)
                                             (16) ความหนาของชั้นดินอินทรีย (thickness of organic horizon : o)

                                     4.2.2 ชั้นการจําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ

                                          แบงชั้นความเหมาะสมเปน 5 ชั้น (class) ดังนี้
                                          ชั้นความเหมาะสมที่ 1 เปนชั้นที่มีความเหมาะสมดีมาก (very well suited)

                                          ชั้นความเหมาะสมที่ 2 เปนชั้นที่มีความเหมาะสมดี (well suited)
                                          ชั้นความเหมาะสมที่ 3 เปนชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (moderately suited)
                                          ชั้นความเหมาะสมที่ 4 เปนชั้นที่ไมคอยเหมาะสม (poorly suited)
                                          ชั้นความเหมาะสมที่ 5 เปนชั้นที่ไมเหมาะสม (unsuited)

                                     ขอควรคํานึงในการจําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ คือ การจําแนก

                       ความเหมาะสมไมไดเปนการระบุถึงอัตราการใหผลผลิต พิจารณาพืชที่ปลูกในฤดูฝนเปนหลัก โดยชั้น
                       ความเหมาะสมของดินแตละชั้น (class) มิไดหมายความวามีการจัดการหรือมีการดูแลรักษาที่
                       เหมือนกันเสมอไป ชั้นความเหมาะสมของดินแตละชั้นจะมีขอจํากัดปลีกยอยลงไปอีกหรือที่เรียกวา
                       ชั้นความเหมาะสมของดินยอย (subclass) และชั้นความเหมาะสมของดินสามารถเปลี่ยนแปลงไดถามี

                       การปรับปรุงแกไขขอจํากัดของพืช

                       5. การประเมินความเหมาะสมของดินทางดานปฐพีกลศาสตร
                              การประเมินความเหมาะสมของดินทางดานปฐพีกลศาสตร เปนการวิจัยเพื่อหาระดับความ

                       เหมาะสมของดินทางดานปฐพีกลศาสตร ตามวิธีการวินิจฉัยคุณภาพของดินดานปฐพีกลศาสตรตาม
                       กลุมชุดดินในประเทศไทย (สุวณี, 2538) ซึ่งเปนการประเมินความเหมาะสมของชุดดินตามสมบัติของ

                       ดินเพื่อการใชงานดานวิศวกรรมประเภทตาง ๆ หลักเกณฑการวินิจฉัยคุณภาพของดินดานวิศวกรรม
                       ใชหลักทั่ว ๆ ไป ดังตอไปนี้
                                     1. อาศัยการคาดคะเนจากสมบัติของดินภายใตสภาพการใชที่ดินและการจัดการดิน
                       ตามปกติ

                                     2. การวินิจฉัยสมบัติของดินจะไมรวมกับปญหาที่เกี่ยวกับทําเล เชน ที่ตั้งใกลเมือง
                       หรือทางหลวง แหลงน้ําและขนาดของที่ดินถือครอง

                                     3. การจัดระดับของที่ดินขึ้นอยูกับลักษณะของดินตามธรรมชาติ
                                     4. การจัดระดับความเหมาะสมของดินมักจะพิจารณาจากดินทั้งหมด ยกเวนบาง
                       กรณีอาจจะจัดระดับจากขอจํากัดของดินแตละชั้นดิน ความลึกของชั้นดินที่ใชจัดระดับจะอยูประมาณ
                       1.5-1.8 เมตร แตดินบางชนิดการคาดคะเนที่มีเหตุผลอาจจะตองไดจากวัสดุดินที่ลึกกวานี้

                                     5. การจัดระดับความเหมาะสมของดินวาไมเหมาะสมหรือไมเหมาะสมอยางยิ่ง มิได
                       หมายความวาพื้นที่นั้นจะไมสามารถเปลี่ยนแปลงโยกยายหรือแกไขขอจํากัดได สภาพการใชที่ดินที่ได
                       จัดระดับไววาไมเหมาะสมหรือไมเหมาะสมอยางยิ่ง ขึ้นอยูกับชนิดของขอจํากัดซึ่งจะสามารถแกไขให

                       สําเร็จและคุมกับการลงทุนหรือไม
                                     6. การวินิจฉัยสมบัติของดิน เปนสิ่งจําเปนที่ใชในการประเมินที่ดิน ความสําคัญของ
                       การวินิจฉัยขึ้นอยูกับสภาพการใชที่ดิน ชนิดของดินและปญหาการใชที่ดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38