Page 30 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       22


                       4. การประเมินความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ

                              การประเมินความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจในรายงานการสํารวจดินฉบับบนี้ใช
                       วิธีการประเมิน 2 วิธี  ไดแก 1) การประเมินความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจในพื้นที่เขต
                       พัฒนาที่ดินลุมน้ํา (1 : 25,000) ใชวิธีประเมินตามคูมือการจําแนกความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืช

                       เศรษฐกิจตามเอกสารทางวิชาการเลมที่ 28 (กองสํารวจดิน, 2523) และ 2) การประเมินความ
                       เหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ดําเนินการ (1 : 4,000) ใชวิธีประเมินตามคูมือการ
                       จําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจของประเทศไทยตามเอกสารวิชาการฉบับที่ 453

                       (กองสํารวจและจําแนกดิน, 2543)
                              4.1 การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ (เอกสารวิชาการเลมที่ 28)

                                 การประมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ ใชวิธีประเมินตามคูมือ

                       การจําแนกความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจตามเอกสารทางวิชาการเลมที่ 28
                       (กองสํารวจดิน, 2523) มีรายละเอียดดังนี้
                                     4.1.1 หลักเกณฑการประเมินความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ

                                          1) ศึกษาลักษณะและสมบัติตาง ๆ ของดิน ตลอดจนสภาพแวดลอมที่ไดจาก

                       ขอมูลการสํารวจและจําแนกดินอยางละเอียด แลวนํามาจัดเปนหมวดหมูหรือเปนชั้นตามความรุนแรง
                       ของลักษณะดินและสภาพแวดลอมที่มีผลตอการเพาะปลูกพืช หรือตามความเสี่ยงตอความเสียหาย
                       เมื่อนําดินนั้นมาปลูกพืช ชั้นความเหมาะสมของดินแตละชั้นจะประกอบดวยชุดดินหลายชุด แตทั้งนี้
                       มิไดหมายความวาชั้นความเหมาะสมของดินแตละชั้นนั้นตองการการจัดการหรือการดูแลรักษาที่

                       เหมือนกันเสมอไป
                                          2) ชั้นความเหมาะสมของดินแตละชั้นยกเวนชั้นความเหมาะสมที่ 1 จะตอง

                       ระบุลักษณะและสมบัติของดินที่มีผลตอการเจริญเติบโตหรือมีผลกระทบตอผลผลิตของพืชที่ปลูก
                       ลักษณะของดินที่ระบุไวในชั้นความเหมาะสมของดินสําหรับการปลูกพืชแตละชั้น เรียกวา ขอจํากัด
                       (limitation) การจําแนกความเหมาะสมของที่ดินแบงเปน 5 ชั้น (class) ดังนี้
                                             (1) ชั้นความเหมาะสมของที่ดินชั้นที่ 1 หรือชั้นที่ดินมีความเหมาะสม

                       ดีมาก (soil very well suited : I)
                                             (2) ชั้นความเหมาะสมของที่ดินชั้นที่ 2 หรือชั้นที่ดินมีความเหมาะสมดี
                       (soil well suited : II)

                                             (3) ชั้นความเหมาะสมของที่ดินชั้นที่ 3 หรือชั้นที่ดินมีความเหมาะสมปาน
                       กลาง (soil moderately well suited : III)
                                             (4) ชั้นความเหมาะสมของที่ดินชั้นที่ 4 หรือชั้นที่ดินที่ไมคอยเหมาะสม

                       (soil poorly suited : IV)
                                             (5) ชั้นความเหมาะสมของที่ดินชั้นที่ 5 หรือชั้นที่ดินที่ไมเหมาะสม (soil
                       not suited : V)

                                          3) เมื่อทราบชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกพืชตาง ๆ แลวใหแยก
                       ยอยจนไปถึงระดับชั้นความเหมาะสมยอย (subclass) โดยระบุตัวขอจํากัดที่รุนแรงที่สุดเทานั้น
                       หากทําการจําแนกใหระเอียดไปมากกวาชั้นยอย จนไปถึงระดับหนวยการจัดการ ทําไดโดยเพียงแต
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35