Page 29 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       21


                                        18) บอขุดที่เกิดจากการขุดเอาวัสดุดินออกไปและหลงเหลือเปนบอ (Pit : P)
                                        19) ที่ดินหินพื้นโผล ประกอบไปดวยกอนหินโผลขึ้นพนดินหรือผิวดินอยางเต็ม

                       บริเวณ และสามารถจําแนกชนิดของหินได (Rock outcrop : RC)
                                        20) ที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน เปนบริเวณที่เต็มไปดวยกอนหินมนเล็ก กอนหิน
                       และหินมนใหญโดยปกติจะพบบริเวณเชิงเขา (Rubble land : RL)

                                        21) ที่ลาดชันเชิงซอน เปนบริเวณที่เปนเทือกเขา หรือภูเขาที่มีลักษณะสูงชัน
                       สลับซับซอนมาก โดยเฉลี่ยความลาดชันของพื้นที่มากกวา 35 เปอรเซ็นต (Slope complex : SC)
                                        22) สันทราย ประกอบไปดวยสันทรายที่เกิดและรองที่เกิดจากการพัดพาของลม

                       บริเวณชายทะเล (Sand dune : SD)
                                        23) ที่ลุมน้ําขัง เปนบริเวณที่ลุมต่ํา มีน้ําขังตลอดเวลา แมในหนาแลงระดับน้ําก็
                       ยังอยูเหนือผิวดิน พืชพรรณธรรมชาติสวนใหญที่ขึ้นปกคลุมจะเปนพวกไมเนื้อแข็ง และสวนใหญเปน

                       ไมยืนตน (Swamp : S)
                                        24) นาเกลือ (Salt farm : SF)
                                        25) ที่อยูอาศัยหรือที่ดินในเมือง (Urban land : U)

                                        26) พื้นที่น้ํา เปนบริเวณที่มีแตน้ํา รวมถึงพื้นที่หนอง บึง อางเก็บน้ํา สระน้ํา
                       ชะวากทะเล บอขุดตาง ๆ ที่เต็มไปดวยน้ํา (Water body : W)

                              การเขียนหนวยแผนที่ดิน (soil map units) หมายถึง หนวยหรือชื่อที่แสดงถึงลักษณะและ
                       สมบัติของขอบเขตที่แสดงในแผนที่ (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2551)
                                     1. การเขียนและอธิบายหนวยแผนที่ดิน จะเขียนดวยสัญลักษณแทน ดังนี้


                                        ชื่อชุดดิน   -        เนื้อดินบน - ความลาดชัน
                                                            ความลึกของดิน, การกรอนของดิน

                                      ตัวอยางหนวยแผนที่ดิน เชน      Se–sicA   หรือ  Se - sicA/d5,E0
                                                                        d5,E0
                                          อธิบายได คือ ชุดดินเสนา มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียวปนทรายแปง ความลาดชัน

                       0-2 เปอรเซ็นต ลึกมาก และไมมีการกรอน
                                          อยางไรก็ตามประเภทดินอื่น ๆ ก็สามารถนํามาเขียนได หากเห็นวามีผลตอ
                       การใชประโยชนที่ดินและการจัดการดิน แตไมใชมากเกินไปและมีความหมายไมซับซอน

                                     2. การเขียนและอธิบายหนวยแผนที่กลุมชุดดิน
                                        สัญลักษณ : กลุมชุดดินหรือหนวยรวมของกลุมชุดดิน ความลาดชัน สัดสวนของ

                       เนื้อที่ ตัวอยางแผนที่กลุมชุดดิน เชน
                                          หนวยแผนที่ 10 : กลุมชุดดินที่ 10 มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต
                                          หนวยแผนที่ 47B : กลุมชุดดินที่ 47 มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต

                                          หนวยแผนที่ 26C/32C : หนวยสัมพันธของกลุมชุดดินที่ 26 มีความลาดชัน
                       5-12 เปอรเซ็นต และกลุมชุดดินที่ 32 มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต สัดสวน 50:50
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34