Page 29 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
18
6) ช่วยในการปรับปรุงโครงสร้างทางกายภาพของดินให้ดีขึ้นเพื่อให้เหมาะสมแก่
การปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยพืชสดเมื่อสลายตัวสมบูรณ์แล้วจะเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ซึ่งจะแทรกอยู่ระหว่างเม็ด
ดิน ท าให้ดินนั้นเกาะตัวกันอย่างหลวมๆ จึงท าให้ดินอุ้มน้ าดีขึ้น
7) ช่วยในการป้องกันก าจัดวัชพืช ในกรณีที่พืชปุ๋ยสดที่ปลูกเป็นพืชคลุมดินเมื่อ
เจริญเติบโตเต็มที่แล้วก็จะป้องกันมิให้วัชพืชอื่นๆ ที่ไม่ต้องการขึ้นได้ถือได้ว่าเป็นการลดต้นทุนในการ
ป้องกันก าจัดวัชพืชอีกด้วย
8) ช่วยในการควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืช การใช้พืชปุ๋ยสดท าให้เชื้อสาเหตุโรคพืช
Aspergillus flavus, Sclerotium rolfsi และ Rhizoctonia solani และนอกจากนี้ยังพบว่าการใช้พืช
ปุ๋ยสดสามารถตัดวงจรกี่ระบาดของโรคใบขาวในอ้อยได้อีกด้วย
9) ช่วยเพิ่มผลผลิตของพืชหลักให้สูงขึ้น และมีคุณภาพดี
3.4.2 การประเมินมูลค่าธาตุอาหารและอินทรียวัตถุของการใช้ปุ๋ยพืชสด
จากข้อมูลของกรมพัฒนาที่ดิน (2557) พบว่าเมื่อมีการไถกลบปอเทืองจะให้
น้ าหนักสด 2,500 กิโลกรัมต่อไร่ และให้น้ าหนักแห้ง 500 กิโลกรัมต่อไร่ และมีปริมาณอินทรียวัตถุในพื้นที่
1 ไร่ ประมาณ 0.20 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ประมาณ 2.76,
0.22 และ 2.40 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักแห้ง ตามล าดับ และมีมูลค่าธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
โพแทสเซียม เท่ากับ 1,155 บาท (ตารางที่ 1) ส าหรับถั่วพุ่มเมื่อมีการไถกลบจะให้น้ าหนักสด 1,500
กิโลกรัมต่อไร่ และให้น้ าหนักแห้ง 300 กิโลกรัมต่อไร่ และมีปริมาณอินทรียวัตถุในพื้นที่ 1 ไร่ ประมาณ
0.14 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ประมาณ 2.68 0.39 และ 2.4
เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักแห้ง ตามล าดับ และมีมูลค่าธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เท่ากับ
881 บาท (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 การประเมินมูลค่าธาตุอาหารและอินทรียวัตถุของการใช้ปุ๋ยพืชสด
ปริมาณ ปริมาณธาตุอาหาร
น ้าหนักสด น ้าหนักแห้ง
มูลค่า
ชนิดพืช (กิโลกรัม (กิโลกรัม อินทรียวัตถุใน (เปอร์เซ็นต์โดยน ้าหนักแห้ง) (บาท)
พื นที่ 1 ไร่
ต่อไร่) ต่อไร่) ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
(เปอร์เซ็นต์)
โสนอัฟริกัน 2,000 400 0.19 2.87 0.42 2.06 1,301
ปอเทือง 2,500 500 0.20 2.76 0.22 2.40 1,155
ถั่วพร้า 2,500 500 0.21 2.72 0.54 2.14 1,179
ถั่วพุ่ม 1,500 300 0.14 2.68 0.39 2.46 881
ถั่วมะแฮะ 2,000 400 0.19 2.34 0.25 1.11 6.19
ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2557)