Page 34 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        23

                                                           บทที่ 4

                                                   ผลการศึกษาและวิจารณ์

                            การด าเนินการการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพเพื่อ
                   เพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อ าเภอนา

                   เยีย จังหวัดอุบลราชธานี ทั งหมด 1,166 ไร่ มีเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจ านวน 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่
                   1, 2, 4 และ 8 จ านวน 75 ราย จากภาพที่ 8 พบว่า มีเกษตรกรจ านวน 9 ราย อยู่ในพื นที่ที่มีความ
                   เหมาะสมปานกลาง (S2) มีพื นที่เท่ากับ 128 ไร่ และเกษตรกรจ านวน 66 ราย อยู่ในพื นที่ที่เหมาะสมน้อย

                   (S3) มีพื นที่เท่ากับ 1,038 ไร่ โดยพื นที่เป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีสภาพพื นที่แปลงปลูก มีลักษณะพื นที่
                   ลุ่มสดับดอน เป็นพื นที่อาศัยน  าฝนในการท านา ได้ผลการศึกษา ดังนี

                   4.1 การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินในพื้นที่เกษตรกรที่เข้าร่วมการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซัง

                        พืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้้าหมักชีวภาพโครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
                        ข้าว อ้าเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
                          ในการศึกษาครั งนี มีการเก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดิน ได้แก่ ค่าความเป็น
                   กรดเป็นด่าง ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น

                   ประโยชน์ ท าการเก็บตัวอย่างดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร โดยได้เปรียบเทียบพื นที่ของเกษตรกร
                   ก่อนเข้าร่วมโครงการและพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว
                   อ าเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี เป็นระยะเวลา 2 ปี จ านวน 75 ราย ต่อเนื่อง ซึ่งผลการวิเคราะห์ดินได้
                   อ้างอิงจากเกณฑ์สูงต่ าของค่าวิเคราะห์ดิน (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547) ได้ผลการศึกษา

                   ดังนี
                          4.1.1 ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                                  จากการวิเคราะห์ค่าความเป็นกรดเป็นด่างดังตารางที่ 2 ในพื นที่ของเกษตรกรจ านวน

                   75 ราย พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกรมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 4.6-5.3 จัด
                   อยู่ในระดับกรดจัด ส่วนพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่
                   1 มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 4.7-5.4 จัดอยู่ในระดับกรดจัด และพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วม
                   โครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 4.7-5.4 จัด
                   อยู่ในระดับกรดจัด และเมื่อคิดเป็นค่าเฉลี่ยของความเป็นกรดเป็นด่างของดิน พบว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ

                   พื นที่ของเกษตรกรมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างเฉลี่ยเท่ากับ 4.9 จัดอยู่ในระดับกรดจัด ส่วนพื นที่ของ
                   เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1 มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                   เฉลี่ยเท่ากับ 5.0 จัดอยู่ในระดับกรดจัด และพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว

                   ขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างเฉลี่ยเท่ากับ 5.1 จัดอยู่ในระดับกรดจัด
                                  เมื่อท าการเปรียบเทียบค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินพบว่า พื นที่ของเกษตรกรที่เข้า
                   ร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ นอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติเมื่อ
                   เทียบกับพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1 และพื นที่

                   ของเกษตรกรก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกร ตามล าดับ พบว่าค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน
                   จัดอยู่ในระดับกรดจัดแต่มีแนวโน้มของค่าความเป็นกรดเป็นด่างที่ดีขึ น เนื่องจากสารอินทรีย์บางชนิดที่
                   เกิดขึ นในการสลายตัวของปุ๋ยพืชสดมีสมบัติเป็นตัวรีดิวซ์ (reducing substances) จึงรีดิวซ์เฟอริก
                   ออกไซด์และแมงกานิกออกไซด์ กระบวนการดังกล่าวได้ดึงโปรตอนหรือประจุบวกจากดินมาใช้และการ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39