Page 25 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        14



                          3.2.5 การปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 เพื่อให้ได้ผลผลิตสูง (กรมการข้าว, 2553)
                                  1) ท าการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ให้มีความบริสุทธิ์โดยที่ไม่ให้มีเมล็ดพันธุ์อื่นหรือสิ่งเจือปน
                   เช่น เมล็ดวัชพืช และเปอร์เซ็นต์การงอกควรมีค่า 80 เปอร์เซ็นต์ ขึ้นไป
                                  2) การเลือกวิธีการปลูกและช่วงเวลาที่เหมาะสม
                                      2.1) ส าหรับในเขตชลประทานที่ไม่มีปัญหาเรื่องน้ า ควรท านาด าหรือนาหว่านน้ าตม

                   แผนใหม่ โดยนาด าจะให้เริ่มตกกล้ากลางเดือนกรกฎาคม ปักด าข้าวในช่วงเดือนสิงหาคมแล้วข้าวจะออก
                   ดอกประมาณวันที่ 20 ของเดือนตุลาคม และจะสามารถเก็บเกี่ยวได้ประมาณวันที่ 20 เดือนพฤศจิกายน
                   ของทุกปี ส่วนนาหว่านน้ าตมแผนใหม่ให้หว่านประมาณปลายเดือนกรกฎาคมถึงต้นเดือนสิงหาคมแล้วเก็บ

                   เกี่ยวในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน
                                     2.2) ในพื้นที่ฝนตกน้อยหรือฝนล่าช้า ควรท านาหว่านหรือนาหยอด โดยช่วงเวลาปลูก
                   ที่เหมาะสมอยู่ระหว่างปลายเดือนกรกฎาคมถึงต้นเดือนสิงหาคม และข้าวจะเก็บเกี่ยวได้ในช่วงปลายเดือน
                   พฤศจิกายน

                                  3) การเตรียมดินเพื่อปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105
                                      3.1) นาหว่านข้าวแบบแห้ง ในสภาพดินร่วนปนทราย และดินทรายปนดินร่วนจะ
                   เตรียมดินโดยการไถพรวนแล้วหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวในอัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ จากนั้นคราดกลบและคลุม
                   ด้วยฟาง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ จะท าให้ได้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุดถึง 500 กิโลกรัมต่อไร่

                                     3.2) นาด าจะต้องไถดะทิ้งไว้ประมาณ 15 วัน จึงไถแปรอีกครั้ง เพื่อก าจัดต้นอ่อนของ
                   วัชพืชที่งอกขึ้นมาใหม่แล้วคราดเพื่อดันวัชพืชให้จมอยู่ใต้โคลนในขณะเดียวกันท าการเกลี่ยโคลนปรับระดับ
                   หน้าดินไปด้วยจะท าให้ระดับน้ าในแปลงนาท่วมคลุมวัชพืชได้อย่างทั่วถึง
                                     3.3) นาหว่านน้ าตมแผนใหม่ มีวิธีการเตรียมดิน 2 วิธี โดยเริ่มจากการไถดะทิ้งไว้

                   ประมาณ 15 วัน แล้วไถแปรทิ้งไว้อีก 7 วัน จากนั้นไถแปรอีกครั้งแล้วท าการคราดเก็บเศษวัชพืชออกให้
                   หมด ซึ่งวัชพืชต่างๆ จะลงไปอยู่ใต้โคลน แล้วจึงลูบเทือกให้เรียบสม่ าเสมอ จากนั้นท าการแบ่งแปลงย่อย
                   ขนาดกว้าง 3-5 เมตร ทิ้งไว้ 1 คืน แล้วจึงหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังจากนั้น 4-5 วัน ให้ทยอยปล่อยน้ าเข้า

                   ให้ท่วมหน้าดิน เพื่อคลุมวัชพืชที่งอกประมาณ 10-15 เซนติเมตร จะท าให้ต้นข้าวเจริญเติบโตพอที่จะคลุม
                   วัชพืชได้
                                    3.4) นาหยอด เป็นวิธีที่ไม่นิยมปลูกมากนัก แต่ถ้าจ าเป็นจะต้องปลูกด้วยวิธีนี้ในช่วง
                   ของการเตรียมดินจะต้องก าจัดวัชพืชออกให้หมด และหลังจากหยอดเมล็ดข้าวแล้วควรคลุมฟางทับใน
                   อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่อมีโอกาสได้รับน้ าฝนจะต้องเก็บกักน้ าท่วมวัชพืช เพื่อก าจัดวัชพืชที่งอก

                   มาใหม่
                                 4) ใช้เมล็ดพันธุ์อัตราที่เหมาะสม คือ ถ้าเป็นนาหว่านข้าวแห้งควรใช้ในอัตรา 10-15
                   กิโลกรัมต่อไร่ นาหว่านน้ าตมแผนใหม่ 12-15 กิโลกรัมต่อไร่ วิธีหยอด 6-8 กิโลกรัมต่อไร่ และปักด าใช้

                   4-7 กิโลกรัมต่อไร่
                                  5) ควรใส่ปุ๋ยในอัตราที่เหมาะสมและถูกวิธี ดังนี้
                                    5.1) การใส่ปุ๋ยนาด า ควรใส่ 2 ครั้ง คือ
                                          ครั้งที่ 1 ใส่ก่อนปักด าไม่เกิน 1 วัน หรือหลังปักด าประมาณ 10-20 วัน โดยใส่

                   ปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0, 20-20-0, 28-22-0 หรือ 18-46-0 ในดินเหนียว และสูตร 16-16-8 ในดินทราย
                   อัตรา 20-25 กิโลกรัมต่อไร่
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30