Page 27 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        16



                                    - ช่วยลดความเป็นพิษของดินเค็ม โดยตอซังช่วยให้การอุ้มน้ าในดิน ท าให้ดินมีความ
                   ชุ่มชื้นส่งผลให้เกลือใต้ดินไม่สามารถขึ้นมาได้
                                    - มีผลท าให้ปริมาณและกิจกรรมของจุลินทรีย์เพิ่มขึ้น และเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของ
                   จุลินทรีย์และสัตว์เล็กๆ ในดินด้วย
                                  - การเพิ่มปริมาณหรือจ านวนของจุลินทรีย์ในดินมีผลช่วยลดปริมาณเชื้อสาเหตุโรคพืช

                   บางชนิดในดินลดน้อยลง



























                              ภาพที่ 7 การไถกลบตอซังพืช


                            วิรัตน์ และคณะ (ม.ป.ป.) ศึกษาการผลิตข้าวและการจัดการตอซังข้าวของเกษตรกรเขต
                   ชลประทานในอ าเภอวัดโบสถ์ จังหวดพิษณุโลก พบว่าเกษตรกรทั้งหมดมีการปลูกข้าวทั้งฤดูนาปีและฤดูนา
                   ปรัง โดยปลูกทั้งข้าวเจ้าไวต่อช่วงแสงและไม่ไวต่อช่วงแสงลักษณะเป็นนาลุ่ม ดินร่วนปนทราย ซึ่งส่วนใหญ่

                   มีการปรับปรุงบ ารุงดินโดยการไถกลบตอซัง มีการเตรียมดินก่อนการเพาะปลูก และได้ปลูกข้าวแบบนา
                   หว่านโดยมีการใช้เมล็ดพันธุ์เฉลี่ยเท่ากับ 22.31 กิโลกรัมต่อไร่ ส่งผลให้เกษตรกรได้ผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ
                   769.36 กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากนี้ยังพบว่าการไถกลบตอซังข้าวจะช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดิน และลด
                   การใช้ปุ๋ยเคมีอีกด้วย

                            บังอร และคณะ (2559) ได้ศึกษาผลของการจัดการตอซังข้าวร่วมกับการเตรียมดินและชนิด
                   ของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตข้าว และสมบัติของดินบางประการ พบว่าการไถกลบตอซังข้าวท าให้
                   ความสูงของต้นข้าว เมล็ดดีต่อรวง และผลผลิตสูงที่สุดเท่ากับ 933 กิโลกรัมต่อไร่ และการไถกลบตอซัง
                   ข้าวส่งผลให้มีปริมาณอินทรียวัตถุและอินทรีย์คาร์บอนสูงกว่าการเผาตอซังอย่างมีนัยส าคัญ และปริมาณ

                   ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้หลังการเก็บเกี่ยวข้าวมีปริมาณเพิ่มขึ้นจาก
                   ปริมาณที่เริ่มต้นอย่างเด่นชัดจากทุกวิธีที่ท าการทดลอง
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32