Page 29 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                        19


                   เปอร์เซ็นต์ ส่วนปุ๋ยต ารับที่ 3 4 5 และ 6 แม้มีแนวโน้มท าให้ผักกาดหวานมีการสะสมโปแตสเซียมในส่วน
                   เหนือดินทั้งหมดเพิ่มขึ้นเช่นกันแต่ความแตกต่างระหว่างปุ๋ยอัตราเหล่านี้กับต ารับที่ 1 ไม่มีนัยส าคัญทาง

                   สถิติ และมีเพียงปุ๋ยต ารับที่ 3 ที่มีการสะสมโปแตสเซียมในส่วนเหนือดิน 9.64 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งไม่แตกต่าง
                   จากปุ๋ยต ารับที่ 2 อย่างมีนัยส าคัญด้วย ส าหรับการสะสมโปแตสเซียมในผักหลังตัดแต่งและเศษผัก พบว่า
                   ต ารับการใส่ปุ๋ยเคมีไม่มีผลต่อข้อมูลทั้งสองอย่างอย่างมีนัยส าคัญในทางสถิติ แม้ว่าการใส่ปุ๋ยเคมีโดยส่วน
                   ใหญ่มีแนวโน้มท าให้การสะสมโปแตสเซียมในผักหลังตัดแต่งและในเศษผักสูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีก็ตาม ดัง


                   แสดงไว้ในตารางที่ 7

                   ตารางที่ 7  ปริมาณโปแตสเซียมที่สะสมในผักหลังตัดแต่ง ในเศษผัก และในส่วนเหนือดินทั้งหมดของ

                     ผักกาดหวาน พ.ศ. 2556

                                                                                              L1
                                                             ปริมาณโปแตสเซียมที่สะสม (กก.K/ไร่)
                           อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่)
                                                           ผักหลังตัด    เศษผัก      ส่วนเหนือดิน
                     ต ารับที่   N      P O      K O          แต่ง                      ทั้งหมด
                                                   2
                                         2 5
                       1         0       0         0         5.05         2.16          7.21b
                       2      153.60  76.80      76.80       7.12         3.90          11.02a
                       3       38.36  26.86      41.09       7.21         2.47          9.64ab
                       4       10.98     0         0         6.47         2.14          8.62b

                       5       17.39     0         0         5.33         2.43          7.76b
                       6       10.00  5.00       5.00        5.38         2.78          8.17b
                                       L2
                                  F-test                      ns           ns              *
                                  CV (%)                     19.31       30.21          17.02


                   หมายเหตุ :  L1 ค่าเฉลี่ยในแต่ละคอลัมน์ ที่ตามด้วยอักษรที่ต่างกันแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
                              ที่ DMRT ที่ระดับ P < 0.05
                              L2 * หมายถึง แตกต่างกันที่ระดับ 0.05 ns หมายถึง ไม่แตกต่างกันที่ระดับ 0.05
                   ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์วิจัยพืช ปุ๋ยและสิ่งปรับปรุงดิน ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2556)


                          จากรายงานของปวีณา (2551) ผักกาดหวานที่มีน้ าหนักสดส่วนเหนือดินทั้งหมด 2,133 กิโลกรัม
                   ให้น้ าหนักแห้ง 145 กิโลกรัมต่อไร่ มีปริมาณธาตุอาหารหลักในส่วนเหนือดินทั้งหมดดังนี้ 5.7  กิโลกรัม
                   ไนโตรเจน 0.56 กิโลกรัมฟอสฟอรัส และ 33.47 กิโลกรัมโปแตสเซียมต่อไร่ ในขณะที่การทดลองนี้ผักกาด

                   หวานที่ปลูกในโรงเรือนของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่งหลวงในปี พ.ศ. 2556  โดยไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมีให้
                   น้ าหนักสดของส่วนเหนือดินทั้งหมด 2,580 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าน้ าหนักสดส่วนเหนือดินทั้งหมดของ
                   ผักกาดหวานที่ปวีณา (2551) ได้รายงานไว้ จึงคาดว่าดินที่ใช้ในการทดลองนี้น่าจะมีความอุดมสมบูรณ์สูง
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34