Page 26 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                        16


                   ตารางที่ 4  ความเข้มข้นของธาตุอาหารหลักในผักหลังตัดแต่งและในเศษผักของผักกาดหวาน พ.ศ. 2556

                                                           ความเข้มข้นของธาตุอาหารหลัก (%)
                        อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่)
                                                        ผักหลังตัดแต่ง              เศษผัก
                    ต ารับที่   N    P O   K O        N       P       K       N        P       K
                                       2 5
                                              2
                      1        0       0      0      3.95  0.52  4.77        2.98     0.31  6.51
                      2      153.60  76.80  76.80  5.45  0.57  4.54          4.53     0.34  6.82
                      3      38.36  26.86  41.09  4.99  0.59  4.95           4.20     0.41  6.95
                      4      10.98     0      0      4.28  0.59  5.36        3.77     0.38  6.74

                      5      17.39     0      0      4.46  0.53  4.57        3.91     0.37  6.09
                      6      10.00  5.00  5.00  4.43  0.60  4.67             4.08     0.37  6.34

                   ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์วิจัยพืช ปุ๋ยและสิ่งปรับปรุงดิน ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2556)

                              1.5   ผลของอัตราการใส่ปุ๋ยเคมีต่อปริมาณธาตุอาหารหลักที่สะสมในผักหลังตัดแต่ง ในเศษ

                   ผักและในส่วนเหนือดินทั้งหมด
                                    1.5.1  ไนโตรเจน (N)
                          การใส่ปุ๋ยเคมีในอัตราที่ต่างกันในแต่ละต ารับการทดลอง มีผลท าให้ปริมาณการสะสมไนโตรเจน

                   ในผักหลังตัดแต่ง เศษผัก และส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาดหวานแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ ปุ๋ยต ารับ
                   ที่ 2 ซึ่งเป็นต ารับที่ใส่ไนโตรเจนในปริมาณมากที่สุด เมื่อเทียบกับปุ๋ยต ารับอื่น ๆ ท าให้การสะสมไนโตรเจน
                   ในผักหลังตัดแต่ง ในเศษผักและในส่วนเหนือดินทั้งหมด มีมากที่สุด คือ มี 8.53 2.58 และ 11.11 กิโลกรัม
                   ต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าการสะสมไนโตรเจนของผักกาดหวานที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีหรือต ารับที่ 1 อยู่ 2.0  2.4

                   และ 2.1 เท่าตัวตามล าดับ ส าหรับการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 3 มีผลท าให้การสะสมไนโตรเจนในส่วนเหนือดินและ
                   ผักหลังตัดแต่งเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญเช่นกันเมื่อเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยเคมี โดยมีการสะสมไนโตรเจนใน
                   ส่วนเหนือดิน 8.74 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งมากกว่าต ารับที่ 1 1.6 เท่า ส่วนการสะสมไนโตรเจนในผักหลังตัดแต่ง
                   มีปริมาณ 1.7 เท่า เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของปุ๋ยต ารับที่ 2 กับปุ๋ยต ารับที่ 3 พบว่าปุ๋ยทั้งสองต ารับ

                   มีความแตกต่างกันในทางสถิติในแง่ของผลของการใส่ปุ๋ยที่มีต่อการสะสมไนโตรเจนในส่วนเหนือดินและใน
                   เศษผัก แต่ในแง่ของการสะสมไนโตรเจนในผักหลังตัดแต่งการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 2 และปุ๋ยต ารับที่ 3 ไม่มีความ
                   แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ ส าหรับการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 4 5 และ 6 ไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ ในแง่
                   ของผลที่มีต่อการสะสมไนโตรเจนในส่วนเหนือดินทั้งหมด ในผักหลังการตัดแต่ง และในเศษผัก ทั้ง 3

                   ต ารับท าให้การสะสมไนโตรเจนในส่วนเหนือดินและในผักหลังตัดแต่งน้อยกว่าปุ๋ยต ารับที่ 2 และปุ๋ยต ารับที่
                   3 อย่างมีนัยส าคัญ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของปุ๋ยต ารับที่ 4 5 และ 6 กับต ารับที่ 1 พบว่าการใส่
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31