Page 24 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                        14


                   ส่วนเหนือดินทั้งหมดและไม่แตกต่างจากต ารับที่ 2 ในแง่ของน้ าหนักของผักหลังการตัดแต่ง ส่วนน้ าหนัก
                   ของเศษผักการใช้ปุ๋ยต ารับที่ 4  5 และ  6 นอกจากจะไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติแล้วทั้งสาม


                   ต ารับยังไม่แตกต่างจากการใช้ปุ๋ยต ารับที่ 3 และต ารับที่ 1 อีกด้วย ดังแสดงไว้ในตารางที่ 2

                   ตารางที่ 2  น้ าหนักสดของผักกาดหวานต่อการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราต่าง ๆ  ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่ง

                             หลวง พ.ศ. 2556
                                                                                       L1
                         อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่)                    น้ าหนักสด (กก./ไร่)
                    ต ารับที่   N     P O     K O      ผักหลังตัดแต่ง       เศษผัก       ส่วนเหนือดินทั้งหมด
                                       2 5
                                               2
                                                                    L2
                      1        0       0       0      1,900c  (100)   680b  (100)        2,580c     (100)
                      2     153.60  76.80  76.80  3,190ab  (168)  1,170a  (172)          4,360a     (169)
                      3      38.36  26.86  41.09  3,290a  (173)  910ab  (134)  4,200ab              (163)

                      4      10.98     0       0     2,460bc  (129)  650b        (96)  3,110bc      (121)
                      5      17.39     0       0     2,360bc  (124)  830ab  (122)  3,190bc          (124)
                      6      10.00  5.00      5.00  2,400bc  (126)  920ab  (135)  3,320bc           (129)
                                CV (%)                     20.09            30.70             19.50


                   หมายเหตุ : L1 ค่าเฉลี่ยในแต่ละคอลัมน์ ที่ตามด้วยอักษรที่ต่างกันแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่
                             DMRT ที่ระดับ P < 0.05
                            L2 ตัวเลขในวงเล็บ คือ ผลผลิตเปรียบเทียบคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของผลผลิตเมื่อใช้ปุ๋ยต ารับที่ 1

                              1.3   น้ าหนักแห้งของผักหลังตัดแต่ง เศษผัก และส่วนเหนือดินทั้งหมด

                          การตอบสนองของผักกาดหวานต่ออัตราการใส่ปุ๋ยเคมีทั้ง 6 ต ารับการทดลองในแง่ของน้ าหนัก
                   แห้งของส่วนเหนือดินทั้งหมด ผักหลังการตัดแต่ง และเศษผัก พบว่า อัตราการใส่ปุ๋ยเคมี มีผลท าให้น้ าหนัก
                   แห้งของส่วนเหนือดินทั้งหมดและน้ าหนักแห้งของผักหลังการตัดแต่งของผักกาดหวานแตกต่างกันอย่างมี

                   นัยส าคัญแต่ไม่มีผลต่อน้ าหนักแห้งของเศษผัก ปุ๋ยต ารับที่  2 ท าให้น้ าหนักแห้งของส่วนเหนือดินทั้งหมด
                   ของผักกาดหวานสูงที่สุดและแตกต่างจากการใส่ปุ๋ยต ารับอื่น ๆ ทุกอัตรายกเว้นต ารับที่ 3 อย่างมีนัยส าคัญ
                   ทางสถิติโดยให้น้ าหนักแห้งของส่วนเหนือดินทั้งหมดประมาณ 215 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งมากกว่าน้ าหนักแห้ง
                   ของผักกาดหวานในต ารับที่ 1  52 เปอร์เซ็นต์ ส่วนต ารับที่ 3 ให้น้ าหนักแห้งของส่วนเหนือดินทั้งหมด

                   ประมาณ 180 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งไม่แตกต่างจากการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยต ารับที่ 4  5  และ 6 ในทางสถิติ
                   ส าหรับการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 4  5  และ 6 ท าให้น้ าหนักแห้งของส่วนเหนือดินทั้งหมดอยู่ในช่วง 154-159
                   กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งไม่แตกต่างกันในทางสถิติและไม่ต่างจากการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 1  ส าหรับน้ าหนักแห้งของผัก
                   หลังการตัดแต่งพบว่าปุ๋ยต ารับที่ 2 และต ารับที่ 3 ท าให้น้ าหนักแห้งของผักหลังการตัดแต่งสูงกว่าผักที่

                   ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีอย่างมีนัยส าคัญโดยให้น้ าหนักแห้งของผักหลังการตัดแต่ง 157  และ 146 กิโลกรัม
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29