Page 33 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 33
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
23
ตารางที่ 9 ปริมาณฟอสฟอรัสที่ผักกาดหวานได้รับและประสิทธิภาพการดูดใช้ฟอสฟอรัสจากปุ๋ยแต่ละ
ต ารับการทดลองของผักกาดหวาน พ.ศ. 2556
อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่) ปริมาณ P ที่สะสมใน L1 ประสิทธิภาพการดูด
ส่วนเหนือดินทั้งหมด (P) L2
ต ารับที่ N P O K O (กก./ไร่) ใช้ P จากปุ๋ย (%)
2
2 5
1 0 0 0 0.67c
2 153.60 76.80 76.80 1.10a 0.43 1.28
3 38.36 26.86 41.09 1.02ab 0.35 2.98
4 10.98 0 0 0.84ab 0.17
5 17.39 0 0 0.76c 0.09
6 10.00 5.00 5.00 0.86bc 0.19 8.72
หมายเหตุ : L1 (P) ปริมาณฟอสฟอรัสที่ผักกาดหวานได้รับจากการใส่ปุ๋ยเคมี = ผลต่างของปริมาณ
ฟอสฟอรัสที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีฟอสฟอรัสแต่ละอัตรา
กับปริมาณฟอสฟอรัสที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมี
ฟอสฟอรัส
L2 ประสิทธิภาพการใช้ P จากปุ๋ยของผัก = (P) x 100 / อัตราการใส่ P
ในส่วนของปริมาณโปแตสเซียมที่ผักกาดหวานได้รับจากการใส่ปุ๋ยแต่ละต ารับก็มีลักษณะ
เช่นเดียวกันกับฟอสฟอรัสที่ผักกาดหวานได้รับ กล่าวคือ ผักกาดหวานที่ได้รับการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 4 และ 5
ซึ่งเป็นต ารับที่ไม่มีการใส่ปุ๋ยโปแตสเซียมก็มีการสะสมโปแตสเซียมในส่วนเหนือดินทั้งหมดมากกว่าผักกาด
หวานที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีในต ารับที่ 11.41 และ 0.55 กิโลกรัมต่อไร่ จึงคาดว่าการใส่ปุ๋ยการใส่ปุ๋ย
ไนโตรเจนน่าจะส่งเสริมการเจริญของรากและมีผลท าให้ผักกาดหวานที่ได้รับปุ๋ยต ารับที่ 4 และ 5 มีการดูด
ใช้ฟอสฟอรัสจากดินได้สูงกว่าผักกาดหวานที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีซึ่งสอดคล้องกับ Yeshiwas et al.
(2018) ที่พบว่า ผักสลัดที่ได้รับการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน มีการเจริญเติบโตของรากมากกว่าผักสลัดที่ไม่ได้ใส่ปุ๋ย
ไนโตรเจนอย่างมีนัยส าคัญ ส าหรับผักกาดหวานที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีต ารับที่ 2 3 และ 6 แม้ว่าจะมีการดูด
ใช้โปแตสเซียมเพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับผักกาดหวานในต ารับที่ 1 แต่เมื่อประเมินประสิทธิภาพการดูดใช้
โปแตสเซียมจากปุ๋ย พบว่า ผักกาดหวานที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีต ารับที่ 2 3 และ 6 มีประสิทธิภาพการดูดใช้
โปแตสเซียมจากปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดิน 5.98 7.12 และ 23.13 เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ และปริมาณโปแตสเซียม
ที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาดหวานที่ได้รับปุ๋ยทั้ง 3 ต ารับต่ ากว่าปริมาณโปแตสเซียมทั้งหมด
ที่มีอยู่ในปุ๋ยจึงอาจกล่าวได้ว่าในการปลูกผักกาดหวานในโรงเรือน ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่งหลวงซึ่ง