Page 34 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 34
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
24
ดินมีโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในระดับสูงมาก ท าให้ผักกาดหวานไม่ได้ตอบสนองต่อการใส่ปุ๋ย
โปแตสเซียม ดังแสดงไว้ในตารางที่ 10
ตารางที่ 10 ปริมาณโปแตสเซียมที่ผักกาดหวานได้รับและประสิทธิภาพการดูดใช้โปแตสเซียมจากปุ๋ยแต่
ละต ารับการทดลองของผักกาดหวาน พ.ศ. 2556
อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่) ปริมาณ K ที่สะสมใน ประสิทธิภาพการดูด
ส่วนเหนือดินทั้งหมด (K) L1 ใช้ K จากปุ๋ย (%) L2
ต ารับที่ N P O K O (กก./ไร่)
2
2 5
1 0 0 0 7.21
2 153.60 76.80 76.80 11.02 3.81 5.98
3 38.36 26.86 41.09 9.64 2.43 7.12
4 10.98 0 0 8.62 1.41
5 17.39 0 0 7.76 0.55
6 10.00 5.00 5.00 8.17 0.96 23.13
หมายเหตุ : L1 (K) ปริมาณโปแตสเซียมที่ผักกาดหวานได้รับจากการใส่ปุ๋ยเคมี = ผลต่างของปริมาณ
โปแตสเซียมที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีโปแตสเซียมแต่ละ
อัตรา กับปริมาณโปแตสเซียมที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมี
โปแตสเซียม
L2 ประสิทธิภาพการใช้ K จากปุ๋ยของผัก = (K) x 100 / อัตราการใส่ K
1.6 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
เมื่อพิจารณาถึงต้นทุนการผลิตผักกาดหวานในปี พ.ศ. 2556 เรื่องการเตรียมแปลงปลูก การดูแล
รักษา การเก็บเกี่ยว ในทุกต ารับมีค่าใช้จ่ายในทุกต ารับเท่ากันยกเว้นต ารับที่ 1 ซึ่งไม่มีต้นทุนในเรื่องของ
ค่าแรงในการใส่ปุ๋ยและค่าปุ๋ยเคมีที่ใช้ โดยต ารับที่มีการลงทุนค่าปุ๋ยมากที่สุดคือ ต ารับที่ 2 รองลงมาได้แก่
ต ารับที่ 3 6 5 และ 4 ตามล าดับ เมื่อรวมค่าใช้จ่ายต่อไร่ พบว่า การใส่ปุ๋ยต ารับที่ 2 เป็นต ารับที่มีค่าใช้จ่าย
มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ต ารับที่ 3 6 5 4 และ 1 ตามล าดับ ส าหรับต ารับที่มีมูลค่าผลผลิตต่อไร่มากที่สุด
คือ ต ารับที่ 3 รองลงมาได้แก่ ต ารับที่ 2 4 6 5 และ 1 ตามล าดับ ต ารับที่มีค่าใช้จ่ายในการผลิตต่อกิโลกรัม
ที่มากที่สุดคือ ต ารับที่ 2 รองลงมาได้แก่ ต ารับที่ 1 6 4 5 และ 3 ตามล าดับ ต ารับที่มีผลตอบแทนเหนือ