Page 27 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
17
ปุ๋ยทั้ง 3 ต ารับท าให้การสะสมไนโตรเจนในส่วนเหนือดินทั้งหมด ในผักหลังตัดแต่ง และในเศษผักไม่
แตกต่างกันในทางสถิติ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 5
ตารางที่ 5 ปริมาณไนโตรเจนที่สะสมในผักหลังตัดแต่ง ในเศษผัก และในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาด
หวาน พ.ศ. 2556
L1
ปริมาณไนโตรเจนที่สะสม (กก.N/ไร่)
อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่)
ผักหลังตัด เศษผัก ส่วนเหนือดิน
ต ารับที่ N P O K O แต่ง ทั้งหมด
2 5
2
1 0 0 0 4.21b 1.07b 5.29c
2 153.60 76.80 76.80 8.53a 2.58a 11.11a
3 38.36 26.86 41.09 7.27a 1.47b 8.74b
4 10.98 0 0 5.18b 1.21b 6.39c
5 17.39 0 0 5.27b 1.54b 6.82c
6 10.00 5.00 5.00 5.10b 1.79b 6.9c
L2
F-test * * *
CV (%) 14.45 32.60 14.45
หมายเหตุ : L1 ค่าเฉลี่ยในแต่ละคอลัมน์ ที่ตามด้วยอักษรที่ต่างกันแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
ที่ DMRT ที่ระดับ P < 0.05
L2 * หมายถึง แตกต่างกันที่ระดับ 0.05
ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์วิจัยพืช ปุ๋ยและสิ่งปรับปรุงดิน ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2556)
1.5.2 ฟอสฟอรัส (P)
ผลของการใส่ปุ๋ยต ารับต่าง ๆ ต่อการสะสมฟอสฟอรัสในส่วนเหนือดินทั้งหมด ในผักหลังตัดแต่ง
และในเศษผักของผักกาดหวาน ส าหรับการทดลองปี พ.ศ. 2556 พบว่า เมื่อไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมีหรือต ารับที่
1 ผักกาดหวานมีการสะสมฟอสฟอรัสในผักหลังตักแต่ง ในเศษผัก และในส่วนเหนือดินทั้งหมด 0.55 0.11
และ 0.67 กิโลกรัมต่อไร่ตามล าดับ การใส่ปุ๋ยต ารับที่ 2 และ 3 มีผลท าให้ผักกาดหวานมีการสะสม
ฟอสฟอรัสในส่วนเหนือดินทั้งหมดและในผักหลังตัดแต่งเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญและทั้งสองอัตราไม่มีความ
แตกต่างกันทางสถิติ โดยการสะสมฟอสฟอรัสในส่วนเหนือดินทั้งหมดมีอยู่ในช่วง 1.02-1.10 กิโลกรัมต่อไร่
ส่วนในผักหลังการตัดแต่งมีอยู่ในช่วง 0.86-0.90 กิโลกรัมต่อไร่ ส าหรับการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 4 5 และ 6 แม้ไม่
มีผลท าให้การสะสมของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแต่งแตกต่างไปจากผักในต ารับที่ 1 ในทางสถิติ และปุ๋ย
ต ารับที่ 4 และ 6 ยังมีการสะสมฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแต่งไม่แตกต่างจากผักที่ได้รับการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 3