Page 31 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
ตารางที่ 8 ปริมาณไนโตรเจนที่ผักกาดหวานได้รับและประสิทธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจนจากปุ๋ยแต่ละ
ต ารับการทดลองของผักกาดหวาน พ.ศ. 2556
อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่) ปริมาณ N ที่สะสมใน L1 ประสิทธิภาพการดูด
ส่วนเหนือดินทั้งหมด (N) L2
ต ารับที่ N P O K O (กก./ไร่) ใช้ N จากปุ๋ย (%)
2 5
2
1 0 0 0 5.29c
2 153.60 76.80 76.80 11.11a 5.82 3.8
3 38.36 26.86 41.09 8.74b 3.45 9.0
4 10.98 0 0 6.39c 1.10 10.0
5 17.39 0 0 6.82c 1.53 8.7
6 10.00 5.00 5.00 6.90c 1.61 10.5
หมายเหตุ : L1 (N) ไนโตรเจนที่ผักกาดหวานได้รับจากการใส่ปุ๋ยเคมี = ผลต่างของปริมาณไนโตรเจน
ที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนแต่ละอัตรา กับ
ปริมาณไนโตรเจนที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจน
L2 ประสิทธิภาพการใช้ N จากปุ๋ยของผัก = (N) x 100 / อัตราการใส่ N
จากตารางที่ 8 กล่าวได้ว่าถึงแม้การใส่ปุ๋ยต ารับที่ 2 และ 3 ผักกาดหวานมีผลผลิตของส่วนเหนือ
ดินทั้งหมดสูงกว่าการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 4 5 และ 6 อย่างมีนัยส าคัญ และปุ๋ยต ารับที่ 2 มีการสะสม ไนโตรเจน
ในส่วนเหนือดินสูงกว่าการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 3 แต่ผักที่ได้รับปุ๋ยต ารับที่ 2 มีประสิทธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจน
จากปุ๋ยต่ าที่สุดคือประมาณ 3.8 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดที่มีอยู่ในปุ๋ย ในขณะที่ผักที่ได้รับ
ปุ๋ยต ารับที่ 3 4 5 และ 6 มีประสิทธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจนจากปุ๋ย 9 10 8.7 และ 10.5 เปอร์เซ็นต์
ตามล าดับ เมื่อพิจารณาจากข้อมูลด้านผลผลิตผักหลังการตัดแต่งและประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยของผักกาด
หวานที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีแต่ละอัตรา กล่าวได้ว่าในปี พ.ศ. 2556 การใส่ปุ๋ยเคมีต ารับที่ 3 เป็นอัตราที่
เหมาะสมที่สุดเพราะเป็นอัตราปุ๋ยที่ท าให้ผักกาดหวานมีผลผลิตหลังการตัดแต่งดีกว่าการไม่ใส่ปุ๋ยอย่างมี
นัยส าคัญและเป็นอัตราปุ๋ยที่ท าให้ผักกาดหวานดูดใช้ปุ๋ยไนโตรเจนไปใช้ได้อยู่ในเกณฑ์ที่ดี เมื่อเทียบกับการ
ใส่ปุ๋ยอัตราอื่น ๆ
เมื่อพิจารณาถึงข้อมูลด้านปริมาณการสะสมฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมในส่วนเหนือดินทั้งหมด
ซึ่งในการทดลองนี้ผักกาดหวานในต ารับที่ 1 ซึ่งไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมี มีการสะสมฟอสฟอรัสและ
โปแตสเซียมในส่วนเหนือดิน 0.67 และ 7.21 กิโลกรัมต่อไร่ตามล าดับ หากถือว่าปริมาณฟอสฟอรัสและ
โปแตสเซียมที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาดหวานที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีหรือได้รับการการใส่
ปุ๋ยไนโตรเจนเพียงอย่างเดียวในต ารับที่ 4 และ 5 คือ ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมที่ผักได้รับจากฟอสฟอรัส