Page 32 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       23







                       จังหวัดพิจิตร ผลการวิจัยสรุปได้ว่า การปลูกข้าวแบบเกษตรอินทรีย์ให้ผลตอบแทน สูงกว่าเกษตรเคมีถึง
                       73.2% ของต้นทุนเฉลี่ย เนื่องจากราคา ผลผลิตข้าว และรายได้เฉลี่ยที่สูงกว่า รวมถึงต้นทุนเฉลี่ยที่ต่ ากว่า
                       เกษตรเคมี ทั้งนี้ ต้นทุนเฉลี่ยของการปลูกข้าวแบบเกษตรอินทรีย์ต่ ากว่าเกษตรเคมีเกือบทุกประเภท

                       ยกเว้น ค่าเสื่อมราคา และค่าแรงงาน โดยทุกตัวแปรมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ  (P < 0.01)
                                         ชาลิสา และกนกเนตร (2559) ท าการศึกษาการเปรียบเทียบต้นทุนและ

                       ผลตอบแทนระหว่างการปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์กับเกษตรเคมี ของเกษตรกรกรต าบลบางใหญ่ อ าเภอ
                       บางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี  ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เกษตรกรที่ปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์มีต้นทุนที่ต่ า

                       กว่าเกษตรเคมี และมีผลตอบแทนที่มากกว่าเกษตรเคมี  โดยรายได้และต้นทุนการปลูกข้าวระหว่าง
                       เกษตรอินทรีย์และเกษตรเคมีแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

                                                   ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ
                              1.  ระยะเวลา   เริ่มต้นเดือนตุลาคม  2559

                                                สิ้นสุดเดือนกันยายน 2560
                              2.  สถานที่ด าเนินการ ประกอบด้วย
                                     2.1  กลุ่มสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย อ าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์

                                     2.2  กลุ่มพีจีเอส สุขใจออร์แกนิค อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
                                     2.3  กลุ่มสหกรณ์เกษตรอินทรีย์เชียงใหม่ อ าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
                                       2.4  กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์แม่มอก อ าเภอเถิน จังหวัดล าปาง
                                     2.5  กลุ่มปลูกฮัก (วิสาหกิจชุมชนค าเขื่อนแก้ว) อ าเภอค าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร

                                    2.6  กลุ่มเกษตรอินทรีย์ศรีเทพ อ าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์

                                                     อุปกรณ์และวิธีด าเนินการ
                              1. อุปกรณ์
                                         1.1  วัสดุเครื่องเขียน เช่น กระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ น้ ายาลบค าผิด
                                      1.2  แบบสอบถาม (Questionnaire)

                                     1.3  คอมพิวเตอร์ และเครื่องพิมพ์เอกสาร
                                     1.4  โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS ส าหรับใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
                                      1.5  เครื่องบันทึกเสียงส าหรับบันทึกบทสนทนาในการสัมภาษณ์ข้อมูลเพิ่มเติม
                              2. วิธีด าเนินการ

                                   การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
                       ได้ก าหนดวิธีการด าเนินการวิจัยโดยเริ่มจากการก าหนดกรอบแนวคิดการวิจัย  การตั้งสมมติฐานการ
                       วิจัย  การสร้างและทดสอบแบบสอบถาม  การก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง  การเก็บรวบรวม
                       ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการศึกษาวิจัย  โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                    2.1  กรอบแนวคิดในการวิจัย
                                  จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ได้มาศึกษาค้นคว้าและแสดงไว้ใน
                       หัวข้อตรวจเอกสาร  สามารถน าความรู้ที่ได้มาท าการก าหนดเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัยได้

                       ดังแสดงในภาพที่ 2
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37