Page 34 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       25







                                  2.2  สมมติฐานการวิจัย     จากกรอบแนวคิดในการศึกษา สามารถน ามาสรุปเป็น
                       สมมติฐานการวิจัยได้ดังนี้
                                        2.2.1 สมมติฐานการวิจัยที่ 1  เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีข้อมูลส่วนบุคคล
                       แตกต่างกันมีการผ่านการรับรอง PGS แตกต่างกัน ประกอบด้วย

                                            1)  เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีเพศแตกต่างกัน มีการผ่านการรับรอง
                       PGS แตกต่างกัน
                                            2)  เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีอายุแตกต่างกัน มีการผ่านการรับรอง
                       PGS แตกต่างกัน

                                            3)  เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีการผ่าน
                       การรับรอง PGS แตกต่างกัน
                                            4)  เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีสถานะการเป็นหมอดินอาสาแตกต่าง
                       กันมีการผ่านการรับรอง PGS แตกต่างกัน

                                            5)  เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีขนาดพื้นที่การเกษตรแตกต่างกันมีการ
                       ผ่านการรับรอง PGS แตกต่างกัน
                                        2.2.2  สมมติฐานการวิจัยที่ 2  ข้อมูลประวัติการท าเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกร

                       ที่เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย 1) ประวัติการฝึกอบรมเกษตรอินทรีย์ 2 หลักสูตร คือ  หลักสูตร
                       “พื้นฐานเกษตรอินทรีย์ PGS”  และหลักสูตร “การตรวจเยี่ยมฟาร์มเพื่อน” และ2) ประสบการณ์ใน
                       การท าเกษตรอินทรีย์ ประกอบด้วย การเคยผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ตรวจรับรองโดย
                       หน่วยตรวจรับรอง และระยะเวลาในการท าเกษตรอินทรีย์ มีความสัมพันธ์กับการผ่านการรับรอง PGS
                                        2.2.3  สมมติฐานการวิจัยที่ 3  ชนิดของพืชที่ปลูก และการปรับปรุงบ ารุงดินด้วย

                       ปุ๋ยอินทรีย์และน้ าหมักชีวภาพ มีความสัมพันธ์กับการผ่านการรับรอง PGS
                                        2.2.4  สมมติฐานการวิจัยที่ 4  ข้อมูลปัจจัยเสริมในการท าเกษตรอินทรีย์ คือ การ
                       สนับสนุนจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีความสัมพันธ์กับการผ่านการรับรอง PGS

                                        2.2.5  สมมติฐานการวิจัยที่  5    เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีต้นทุนการผลิตและ
                       รายได้จากการ ขายผลผลิตก่อน และหลังท าเกษตรอินทรีย์แตกต่างกัน

                                   2.3 การสร้างและทดสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (Questionnaire)
                                              2.3.1   การสร้างแบบสอบถาม  ศึกษาข้อมูลจากแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับ
                       งานวิจัย เพื่อน ามาก าหนดข้อค าถามให้ครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการศึกษา  โดยการสร้างแบบสอบถาม

                       ที่อยู่บนพื้นฐานของวัตถุประสงค์ในการวิจัย  สามารถแบ่งออกเป็น 5 ส่วน ดังต่อไปนี้
                                            ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของเกษตรกรตัวอย่าง จ านวน 5 ข้อ
                       ได้แก่ เพศ อายุ  ระดับการศึกษา สถานะการเป็นหมอดินอาสา  และขนาดพื้นที่การเกษตร  โดยมี
                       ลักษณะค าถามเป็นค าถามปลายปิด (Close-ended question) แบบให้เลือกตอบเพียงข้อเดียว และ

                       แบบเติมค าตอบในช่องว่าง
                                            ส่วนที่ 2 ข้อมูลประวัติการท าเกษตรอินทรีย์ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1
                       ข้อมูลประวัติการฝึกอบรมเกษตรอินทรีย์ 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตร “พื้นฐานเกษตรอินทรีย์ PGS”
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39