Page 31 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       22







                                         วริพัสย์  (2560) ท าการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของเกษตรกรอินทรีย์
                       ของไทย : บทเรียนจากเกษตรกรรายย่อย ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรรายย่อยมีพื้นที่ในการท า
                       การเกษตรระหว่าง  5-10 ไร่ เกษตรกรมีการท าการเกษตรระบบการท าการเกษตรเชิงเดี่ยว เกษตรกร

                       ระบบเกษตรปลอดภัยไม่สามารถปรับเปลี่ยนเป็นการเกษตรระบบอินทรีย์ได้ เนื่องจากสภาพแวดล้อม
                       เกษตรกรที่มีทัศนคติที่ดีต่อการท าเกษตรระบบอินทรีย์มีรายได้จากแหล่งอื่นนอกจากการท า

                       การเกษตรเพียงอย่างเดียว เช่น เงินออม เงินบ านาญ เป็นต้น และความค านึงถึงด้านสุขภาพของ
                       ผู้ผลิตและผู้บริโภคเป็นสาเหตุหลักที่ท าให้เกษตรกรเปลี่ยนเป็นเกษตรอินทรีย์ มาตรฐานเกษตร

                       อินทรีย์ระดับชาติและระดับนานาชาติเป็นสิ่งที่ท้าทายต่อเกษตรกรในด้านการตลาด ระดับราคาของ
                       สินค้าอินทรีย์ที่สูงเป็นแรงจูงใจที่ท าให้เกษตรกรสนใจในการท าเกษตรระบบอินทรีย์  ดังนั้นนโยบาย

                       จากรัฐในด้านการให้ความรู้ในกระบวนการผลิต  มาตรฐานสินค้าอินทรีย์  และตลาดของสินค้าเป็น
                       ปัจจัยส าคัญของเกษตรอินทรีย์เพื่อความยั่งยืน
                                         พงศกร (2559) ท าการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนานโยบายเกษตรอินทรีย์

                       ขององค์กรปกครองท้องถิ่น: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนต าบลแม่ทา อ าเภอแม่ออน และเทศบาล
                       ต าบลลวงเหนือ อ าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบของกระบวนการ

                       นโยบายเกษตรอินทรีย์ของทั้ง 2 แห่ง ประกอบด้วย 1. บทบาทขององค์กรปกครองท้องถิ่นต่อ
                       กระบวนการทางนโยบายเกษตรอินทรีย์ และ 2. วิธีการขับเคลื่อนกระบวนการนโยบายเกษตรอินทรีย์

                       ขององค์กรปกครองท้องถิ่น ส าหรับปัจจัยและความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านโครงสร้างสถาบัน องค์กร
                       และกลุ่มในชุมชนของทั้ง 2 แห่ง ซึ่งมี 3 ปัจจัยย่อย ได้แก่ 1. ด้านโครงสร้างอ านาจ และหน้าที่ของ

                       องค์กรปกครองท้องถิ่น (อบต.แม่ทา และ ทต.ลวงเหนือ) 2. ด้านโครงสร้างอ านาจและหน้าที่ของ
                       กลุ่ม/องค์กรชุมชน (สถาบันทรัพยากรและการเกษตรยั่งยืน และศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
                       ต าบลลวงเหนือ) และ 3. ด้านโครงสร้างอ านาจและหน้าที่ของหน่วยงาน/กลุ่มอื่นภายในชุมชน

                                    10.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนระหว่างการผลิต
                       ระบบเกษตรอินทรีย์กับเกษตรเคมี

                                               สุดใจ (2553) ท าการศึกษาเศรษฐกิจการผลิต การตลาด พืชผักอินทรีย์
                       ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ต้นทุนในการผลิตผักอินทรีย์ต่อไร่จะประกอบด้วยต้นทุนที่เป็นเงินสด
                       17,879.15 บาท และไม่เป็นเงินสด 17,272.91 บาท รวมต้นทุนต่อไร่ต่อปี 35,152.06 บาท หักออก

                       จากผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับต่อไร่ต่อปี เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ต่อปี 22,389.61
                       บาท เมื่อเทียบกับต้นทุนการผลิตผักปลอดสารพิษ ต้นทุนรวมต่อไร่ต่อปีจะเป็นต้นทุนที่เป็นเงินสด

                       12,639.32 บาท ต้นทุนที่ไม่เป็นเงินสด 12,184.59 บาท รวมต้นทุนทั้งหมด 24,823.91 บาท หักออก
                       จากผลตอบแทนที่ได้รับต่อไร่ต่อปี 45,357.14 บาท เกษตรกรจะได้รับผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ต่อปี

                       20,533.23 บาท ซึ่งรายได้จะต่ ากว่าเกษตรกรที่ผลิตผักอินทรีย์ ถึงไร่ละ 1,856.38 บาท
                                            อรกช (2556) ท าการศึกษาการเปรียบเทียบโครงสร้างต้นทุนและผลตอบแทนทาง

                       เศรษฐกิจของการปลูกข้าวแบบเกษตรเคมีและเกษตรอินทรีย์:กรณีศึกษา ต าบลหนองโสน อ าเภอสามง่าม
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36