Page 35 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       26







                       และหลักสูตร “การตรวจเยี่ยมฟาร์มเพื่อน”  และส่วนที่ 2 คือ ประสบการณ์ในการท าเกษตรอินทรีย์
                       โดยมีลักษณะค าถามเป็นค าถามปลายปิด (Close-ended question) แบบให้เลือกตอบเพียงข้อเดียว
                                            ส่วนที่ 3 ข้อมูลการผลิตเกษตรอินทรีย์ จ านวน 3 ข้อ ประกอบด้วย 1. ข้อมูล
                       ชนิดของพืชหลักที่ปลูก 2. การปรับปรุงบ ารุงดินด้วยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และน้ าหมักชีวภาพ 3. ต้นทุน

                       การผลิตและรายได้จากการขายผลผลิตหลักก่อนและหลังท าเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม โดยการ
                       เก็บข้อมูลต้นทุนการผลิตในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย  ค่าเมล็ดพันธุ์  ค่าปุ๋ย (เคมีและอินทรีย์) ค่ายา
                       ก าจัดศัตรูพืช  ค่าจ้างไถ  ค่าจ้างปลูก ค่าจ้างเก็บเกี่ยว และค่าน้ ามันเชื้อเพลิง  การออกแบบสอบถาม
                       ข้อมูลต้นทุนการผลิตจะเก็บข้อมูลในภาพรวมของการเพาะปลูกพืชทุกชนิดต่อปี ไม่ได้เก็บข้อมูลต้นทุน

                       การผลิตเป็นรายพืช  เนื่องจากการผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมทดลองเกษตรอินทรีย์ PGS  ส่วนใหญ่จะ
                       เพาะปลูกพืชหลากหลายชนิด  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาข้อมูลในภาพรวมของการ
                       เพาะปลูกพืชหลักของเกษตรกรเปรียบเทียบระหว่างการผลิตในปัจจุบัน (เกษตรอินทรีย์ PGS) กับใน
                       อดีต (เกษตรเคมี) โดยมีลักษณะค าถามเป็นค าถามปลายปิด (Close-ended  question)  แบบให้

                       เลือกตอบ และแบบเติมค าตอบในช่องว่าง
                                            ส่วนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลปัจจัยเสริม ได้แก่ การสนับสนุนจาก
                       หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมีลักษณะค าถามเป็นค าถามปลายปิด (Close-ended question)

                       แบบให้เลือกตอบเพียงข้อเดียว และแบบเติมค าตอบในช่องว่าง
                                            ส่วนที่ 5 แบบสอบถามข้อมูลภาพรวมของกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมทดลอง
                       ระบบเกษตรอินทรีย์ PGS ได้แก่ ประวัติของกลุ่มเกษตรกร  การบริหารจัดการของกลุ่ม  กิจกรรมของ
                       กลุ่ม  การตลาด  และการน าระบบ PGS  มาใช้ในการขับเคลื่อนสมาชิกในกลุ่มให้ด าเนินการผลิตใน
                       ระบบเกษตรอินทรีย์

                                              2.3.2   การทดสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม น าแบบสอบถามที่สร้าง
                       เสร็จเรียบร้อยแล้วไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเกษตรอินทรีย์จากมูลนิธิเกษตรอินทรีย์ไทย จ านวน 3 ท่าน
                       เป็นผู้พิจารณาตรวจสอบความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา (Content Validity) ความเหมาะสมของภาษาที่

                       ใช้ เพื่อขอค าแนะน าในการปรับปรุงแก้ไข  การตรวจสอบความเที่ยงตรงจะท าการวิเคราะห์คุณภาพ
                       ของเครื่องมือโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC (Index of Item Objective Congruence) ซึ่งค่า
                       ดัชนีความสอดคล้องต้องมีค่ามากกว่า 0.5 ขึ้นไป  โดยในการประเมินมี 3 ระดับ ดังนี้
                                            +1  คะแนน      หมายถึง   ข้อค าถามสามารถวัดได้ตรงจุดประสงค์

                                             0  คะแนน       หมายถึง    ไม่แน่ใจว่าข้อค าถามนั้นวัดตรงจุดประสงค์หรือไม่
                                            -1  คะแนน      หมายถึง   ข้อค าถามวัดได้ไม่ตรงจุดประสงค์
                                         หลังจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท่าน ได้ท าการประเมินเรียบร้อยแล้ว น าคะแนนของ
                       ผู้ทรงคุณวุฒิทุกคนที่ประเมินมากรอกลงในแบบวิเคราะห์ความสอดคล้องของข้อค าถามกับ

                       จุดประสงค์เพื่อหาค่าเฉลี่ย ส าหรับข้อค าถามแต่ละข้อใช้สูตรดังนี้
                                                             R
                                            IOC   =         N
                                            IOC  แทน  ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์

                                             R    แทน  ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
                                            N              แทน  จ านวนผู้ทรงคุณวุฒิ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40