Page 25 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       16







                                  8.2  ขนาดตัวอย่าง (Sample  size)  ขนาดตัวอย่างต้องมากพอที่จะเป็นตัวแทนได้
                       วิธีการประมาณขนาดตัวอย่าง โดยใช้สูตรของ TARO YAMANE ดังนี้ (พวงรัตน์, 2553)
                                            n =       N…..1+Nd2

                              เมื่อ         n = ขนาดของหน่วยตัวอย่างกลุ่มเปูาหมาย
                                            N = ประชากรทั้งหมด

                                            D = ระดับความมีนัยส าคัญ
                              ตัวอย่างเช่น   N = 275 คน

                                            D = 0.05
                              แทนค่า           n  =         275

                                                         1+275 (0.05)2
                                                n  =          162.96
                                                n  =            163

                                  8.3  ประเภทและวิธีการสุ่มตัวอย่าง ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่าง ได้แบ่งประเภทการสุ่ม
                       ตัวอย่างออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ (พวงรัตน์, 2553)

                                      8.3.1  การสุ่มตัวอย่างในเชิงเป็นไปได้ (Probability  sampling)  การสุ่มตัวอย่าง
                       แบบนี้ เราสามารถก าหนดได้ว่าทุกภาคส่วนของประชากรมีโอกาสได้รับเลือกเป็นตัวอย่างเท่ากัน

                       การสุ่มแบบนี้มีหลายวิธีดังนี้
                                            1)  การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) หมายถึง การ

                       สุ่มตัวอย่างที่ประชากรทุกภาคส่วนมีโอกาสเท่าเทียมกันที่จะได้รับการคัดเลือกเป็นตัวอย่างโดย
                       วิธีการใช้
                                                   (1) ตารางเลขสุ่ม น าจ านวนขนาดตัวอย่างไปสุ่มในตารางส าเร็จรูปที่

                       นักสถิติจัดท าไว้แล้ว เพียงแต่นักวิจัยก าหนดหลักที่จะใช้ว่ามีกี่หลัก และจะนับไปซ้ายขวา ขึ้นบน
                       ลงล่างอย่างไรต้องก าหนดไว้และปฏิบัติอย่างนั้นตลอด สุ่มโดยการชี้ตัวเลขเริ่มต้น เมื่อชี้ตรงไหนก็บอก

                       ว่าเป็นเลขประจ าตัวของประชากรหรือไม่ถ้าไม่ใช่ให้ข้ามไป ท าการคัดเลือกไปเรื่อยๆ จนได้ตาม
                       จ านวนที่ต้องการ
                                                   (2) การจับสลากโดยการเขียนหมายเลขก ากับประชากรตัวอย่าง

                       แต่ละรายการก่อนแล้วจึงจับฉลากขึ้นมา ซึ่งวิธีการจับฉลากอาจใช้ 2 แบบคือ
                                                       (2.1)  ไม่สุ่มประชากรที่ถูกสุ่มแล้วขึ้นมาอีก (Simple  Random

                       Sampling with out Replacement) คือหยิบแล้วเอาออกได้เลยไม่ต้องใส่กลับลงไปอีก
                                                          (2.2)  สุ่มประชากรที่ถูกสุ่มแล้วขึ้นมาได้อีก (Sample  Random

                       Sampling  with  Replacement)  คือ หยิบขึ้นมาแล้วก็ใส่ลงไปใหม่เพื่อให้โอกาสแก่ประชากร
                       ทุกหน่วย มีโอกาสถูกเลือกขึ้นมาเท่าเดิม
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30