Page 21 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       12







                       อินทรีย์ของกลุ่ม รวมทั้งเสนอปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อให้การควบคุมมาตรฐานการ
                       ผลิตเกษตรอินทรีย์เป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
                                   6.4 กลุ่มให้ค าปฏิญญา สมาชิกทุกคนให้ค ามั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติตามมาตรฐานเกษตร
                       อินทรีย์ของกลุ่ม

                                  6.5 กลุ่มจัดท าเอกสารที่จ าเป็น เมื่อได้ร่วมปรึกษาหารือกันแล้วกลุ่มฯ จึงมอบหมายให้
                       สมาชิกเขียนใบสมัครเข้าร่วมระบบ พี จี เอส (ตามแบบฟอร์ม F1) จัดท าข้อมูล ชื่อ ที่อยู่ แผนการ
                       ผลิตเกษตรอินทรีย์  แผนผังแปลง ต าแหน่งพื้นที่ปลูก ขนาดแปลง ประวัติการท าแปลง ปริมาณและ
                       คุณภาพผลผลิต(ตามแบบฟอร์ม F2) เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการเกี่ยวกับระยะเวลาการ

                       ผลิต การบ ารุงรักษา การเก็บเกี่ยว และปริมาณผลผลิตจากแต่ละแปลง ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการใช้
                       พิจารณาโอกาส อุปสรรค จุดเด่น จุดด้อย ท าให้สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงในทุกรอบการ
                       ประเมินผลได้ด้วย
                                  6.6 กลุ่มรวบรวมฐานข้อมูลสมาชิกทั้งหมดในกลุ่ม (แบบฟอร์ม F3)  เพื่อลงทะเบียน

                       ข้อมูลกลุ่มเกษตรกรสมาชิกของกลุ่มที่สมัครเข้าร่วมระบบการรับรองพีจีเอสในเว็บไซต์ของมูลนิธิ
                       เกษตรอินทรีย์ไทย
                                   6.7 ร่วมกันตรวจเยี่ยมฟาร์มเพื่อน และตัดสินให้การรับรอง แปลงผลิตทุกแปลงต้อง

                       ได้รับการตรวจเต็มรูปแบบตามข้อก าหนด โดยใช้แบบตรวจประเมิน (checklists  แบบฟอร์ม F4)
                       ท าการตรวจเยี่ยมฟาร์มเพื่อนอย่างน้อยปีละครั้ง หรือตามรอบของพืชที่ผลิต (ในช่วงแรกควรตรวจ
                       อย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง) น าผลการตรวจประเมินเข้าที่ประชุมกลุ่มให้คณะกรรมการตัดสินให้การรับรอง
                       เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระหว่างการตรวจเยี่ยม การร่วมกันวิเคราะห์ถึงปัญหาการผลิต การ
                       แนะน า      แนวทางแก้ไขต่างๆ ท าให้เกิดการพัฒนาการผลิตให้เข้าสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และมี

                       นวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้นในเครือข่ายเกษตรกรที่ท าการตรวจเยี่ยมกัน
                                   6.8 ผู้ประสานงานกลุ่มน าข้อมูลรายการผลการตรวจประเมินฟาร์ม (แบบฟอร์ม F4)
                       สรุปผลการตรวจรับรองฟาร์ม (แบบฟอร์ม F5) และข้อมูลรายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่ผ่านการรับรอง PGS

                       ที่มีรายละเอียดของผลิตผลทั้งหมด จ านวนพื้นที่ที่ผ่านการรับรอง  บันทึกข้อมูลในเว็บไซต์ของมูลนิธิ
                       เกษตรอินทรีย์ไทย  เพื่อให้มูลนิธิฯ ตรวจสอบข้อมูล และพิจารณาออกใบรับรองที่มีรหัสการรับรอง
                       ให้กับกลุ่มและสมาชิกที่ผ่านการรับรอง เมื่อได้ใบรับรองแล้ว กลุ่มและสมาชิกจะได้รับอนุญาตให้ใช้
                       ตรารับรอง น าตรารับรองไปพิมพ์เป็นสลากติดบนสินค้าได้อย่างถูกต้อง

                              7.  หลักการทดสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

                                      การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นสิ่งที่จ าเป็นในการ
                       ด าเนินการวิจัย เนื่องจากว่าหากเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาแล้วไม่ได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพก็จะ
                       ท าให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่างานวิจัย ดังกล่าวจะเป็นงานวิจัยที่น่าเชื่อถือ เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาด
                       เกี่ยวกับเครื่องมือที่สร้างขึ้นต่าง ๆ มากมาย เช่น ความไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาและโครงสร้างตามที่

                       ต้องการวัดหรือความไม่ชัดเจนของข้อค าถามที่อาจจะท าให้ผู้เก็บข้อมูลและผู้ให้ข้อมูลมีความสับสน
                       และตอบไม่ตรงตามความเป็นจริงที่ควรจะเป็นซึ่งสิ่งเหล่านี้จัดว่าเป็นสิ่งที่ส าคัญในการด าเนินการวิจัย
                       โดยเมื่อผู้วิจัยได้สร้างเครื่องมือตามแผนที่ได้ก าหนดไว้แล้ว ก่อนที่จะน าเครื่องมือการวิจัยไปใช้จริง
                       ผู้วิจัยต้องมีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือก่อน เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเครื่องมือที่จะน าไปใช้ใน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26