Page 27 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       11



                                                  ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินการ
                       ระยะเวลา          เริ่มตนเดือนเมษายน   พ.ศ. 2557
                       ดําเนินการ        สิ้นสุดเดือนกันยายน   พ.ศ. 2559
                       สถานที่ดําเนินการ  ศูนยวิจัยการอนุรักษดินและน้ํา ตําบลปากชอง อําเภอปากชอง

                                         จังหวัดนครราชสีมา
                       จุดพิกัดที่ตั้งแปลง   UTM 47 P 0760645 E 1623727 N

                                                     อุปกรณและวิธีดําเนินการ

                       อุปกรณ

                                1. หญาแฝกดอน จํานวน 4 พันธุ ไดแก พันธุนครสวรรค พันธุรอยเอ็ด พันธุราชบุรี และ

                       พันธุประจวบคีรีขันธ
                               2. หญาแฝกลุม จํานวน 5 พันธุ ไดแก พันธุพระราชทาน พันธุสุราษฎรธานี พันธุสงขลา 3
                       พันธุศรีลังกา และพันธุตรัง 2
                            3. ตนกลาถั่วปนโต

                            4. เมล็ดพันธุถั่วเวอราโน
                            5. เครื่องมือที่ใชในการเก็บตัวอยางดินและพืช
                              - อุปกรณเก็บดิน ไดแก สวานเจาะดิน และกระบอกเก็บดิน

                              - อุปกรณสําหรับขุดดิน ไดแก จอบ พลั่ว
                              - ถุงพลาสติกและถุงเก็บตัวอยางดินและพืช
                              - ไมบรรทัด สายวัด
                            6. อุปกรณสําหรับวัดความชื้น
                              - ทอ (Access tube) ความยาว 100 เซนติเมตร

                              - เครื่องวัดความชื้นดิน (Moisture meter)  มีหัววัดความชื้นดิน (Profile probe)  สามารถ
                       วัดคาความชื้นดินในแบบ Volumetric soil moisture content (คารอยละโดยปริมาตร) เปน
                       เครื่องวัดความชื้นในดินตาม ลําดับชั้นดินแบบพกพา โดยใชหลักวิธี Time Domain Reflectometer

                       (TDR) ซึ่งเปนวิธีการหนึ่งของการวัดคาอัตราสวนของคาความจุของตัวเก็บประจุของโลหะนั้น ๆ ที่
                       นํามาเปนฉนวนกับคาความจุของตัวเก็บประจุที่นําเอาอากาศมาเปนฉนวน แลวจะมีคาความสัมพันธ
                       โดยตรงกับปริมาณความชื้นในดิน สัญญาณจะถูกสงกลับไปยังเครื่องรับ และแสดงผลออกเปนกราฟ
                       ของปริมาณความชื้นในดินโดยปริมาตรในรูปเปอรเซ็นต

                       วิธีการดําเนินงาน
                              1. วางแผนการทดลองแบบสุมในบล็อกสมบูรณ (Randomized Complete Block Design)
                       ประกอบดวย 12 ตํารับการทดลอง จํานวน 3 ซ้ํา ดังนี้
                                  ตํารับที่ 1    แปลงควบคุม (ไมมีการปลูกหญาแฝกและพืชคลุมดิน)

                                  ตํารับที่ 2  หญาแฝกดอนพันธุนครสวรรค
                                  ตํารับที่ 3  หญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ด
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32