Page 29 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       13



                                            5) หญาแฝกที่อายุ 40 เดือน (เดือนสิงหาคม 2558)
                                            6) หญาแฝกที่อายุ 44 เดือน (เดือนธันวาคม 2558)
                                            7) หญาแฝกที่อายุ 48 เดือน (เดือนเมษายน 2559)

                                       2.6.2 สวนที่ 2 การเก็บขอมูลรากหญาแฝก จะตัดใบคลุมดินทุก 4 เดือน
                       เชนเดียวกับสวนที่ 1  เนื่องจากหญาแฝกมีอายุ 2 ป มีการแตกกอชิดกันแนน จึงเก็บตัวอยางหญาแฝก
                       ในพื้นที่ 1 ตารางเมตร เพื่อเปนตัวแทน โดยพื้นที่ 1 ตารางเมตร ที่สุมเก็บตัวอยางหญาแฝกอางอิงการ

                       เก็บขอมูลพืชประเภทกลาไม ไมพื้นลาง รวมถึงไมเถา เฟรน พืชลมลุก หญา และซากพืช (นาฎสุดา,
                       2550) สําหรับการขุดรากจะใชจอบขุดดินรอบบริเวณรากหญาแฝกรัศมีจากโคนตน 30 เซนติเมตร ให
                       ลึกประมาณ 1 เมตร แลวใชน้ําคอย ๆ ชะดินออกจากรากหญาแฝก เพื่อสามารถดึงตนหญาแฝกขึ้น
                       จากดินได นํารากหญาแฝกไปลางน้ําใหสะอาดอีกครั้ง โดยปลอยใหน้ําชะดินออกไปเหลือแตราก เก็บ
                       บันทึกขอมูลปริมาณมวลชีวภาพของหญาแฝกชั่งน้ําหนักใบ ราก และวัดความยาวของใบและราก

                       ตามชวงอายุดังนี้
                                             1) เริ่มตนเก็บขอมูลหญาแฝกที่อายุ 24 เดือน (เดือนเมษายน 2557)

                                             2) หญาแฝกที่อายุ 36 เดือน (เดือนเมษายน 2558)
                                             3) หญาแฝกที่อายุ 48 เดือน (เดือนเมษายน 2559)
                                  2.7  แปลงพืชคลุมดินทั้ง 2 ชนิด เก็บตัวอยางพืชในพื้นที่ 1 ตารางเมตร ตามชวงอายุ
                       เชนเดียวกับแปลงหญาแฝก และบันทึกน้ําหนักมวลชีวภาพตนของถั่วปนโต ถั่วเวอราโน วัดความยาว

                       เถา ถั่วปนโต และวัดความสูงตนถั่วเวอราโน

                       3. การเก็บขอมูล

                              การเก็บขอมูลตัวอยางดิน ปริมาณความชื้นในดิน หญาแฝก พืชคลุมดิน และขอมูลอื่น ๆ มี
                       รายละเอียดดังนี้
                               3.1 ขอมูลดิน
                                     3.1.1 การเก็บตัวอยางดินกอนการทดลองใชวิธีสุมเก็บตัวอยางแบบ Composite

                       Sampling ในแตละแปลงทดลองที่ระดับความลึก 3 ระดับ ดังนี้ 0-15 15-30 และ 30-50 เซนติเมตร
                       หลังสิ้นสุดการทดลองเก็บตัวอยางดินแบบรายแปลงที่ระดับความลึก 3 ระดับ ดังนี้ 0-15 15-30 และ
                       30-50 เซนติเมตร รวม 2 ครั้ง จากนั้นนําตัวอยางดินมาวิเคราะหสมบัติทางเคมี และกายภาพใน

                       หองปฏิบัติการ โดยสมบัติทางเคมีของตัวอยางดินที่ทําการวิเคราะห ไดแก ปฏิกิริยาดิน (soil
                       reaction หรือคาความเปนกรด-ดางของดิน, pH) ใช pH meter ในอัตราสวนดินตอน้ํา 1:2  ปริมาณ
                       ธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน ใชวิธี Bray II โพแทสเซียมที่เปนประโยชนไดใชวิธีการสกัดดวย
                       สารละลาย ammonium acetate 1N, pH 7.0 และอานคาดวยเครื่อง flame photometer และ
                       ปริมาณอินทรียวัตถุโดยใชวิธีของ Walkley และ Black สวนสมบัติทางกายภาพของดิน ไดแก ความ

                       หนาแนนรวมของดิน เก็บดินแบบไมรบกวนโครงสรางของดิน (core method)
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34