Page 22 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         6



                                         Lu and Zhong (1998) ไดศึกษาการใชตนหญาแฝกที่สับเปนชิ้น ๆ เพื่อการ
                       ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน โดยใสใบและตนหญาแฝกแหง อัตรา 4.5 ตัน และ 2.25 ตัน ใน
                       พื้นที่ปลูกพืช 2 แหงผลการศึกษาพบวา ความพรุนของดิน อินทรียคารบอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
                       เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับแปลงควบคุม และมีผลทําใหผลผลิตขาวโพดเพิ่มขึ้น 34.8 เปอรเซ็นต

                       และ 10.1 เปอรเซ็นต ตามลําดับ Chen et al. (1994) รายงานวาในสวนมะนาวที่ใชใบหญาแฝกและ
                       ไมใชหญาแฝกคลุมดินที่โคนตน พบวาการคลุมดินดวยใบหญาแฝกทําใหสมบัติทางเคมีและกายภาพ
                       ไดรับการปรับปรุงใหดีขึ้น ความพรุนของดินเพิ่มขึ้น 3.8 เปอรเซ็นต ความเปนกรดเปนดางเพิ่มขึ้น 0.65
                       ปริมาณอินทรียวัตถุ เพิ่มขึ้น 4.6 กรัมตอกิโลกรัม ไนโตรเจน เพิ่มขึ้น 0.29 กรัมตอกิโลกรัม ฟอสฟอรัส

                       เพิ่มขึ้น 2.4 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม และโพแทสเซียมเพิ่มขึ้น 51 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม นอกจากนี้
                       ปริมาณจุลธาตุมีแนวโนมเพิ่มขึ้น การปลูกหญาแฝกในสวนมะนาวชวยเพิ่มผลผลิตมะนาว เนื่องจาก
                       สมบัติทางเคมีและกายภาพของดินไดรับการปรับปรุงใหดีขึ้น
                                     2.2.3 การรักษาความชื้นดิน

                                          ความชื้นในดินประกอบดวย 2 สถานะ คือ สถานะที่เปนของเหลว หรือน้ําใน
                       ดิน และสถานะที่เปนกาซ หรือไอน้ําในดิน ความชื้นของดินกับน้ําในดิน มีความหมายเดียวกัน คือ
                       สวนที่อยูในสถานะที่เปนของเหลว สามารถแบงสภาพของน้ําในดินออกไดตามความแตกตางของน้ําที่

                       มีอยูในดินได (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548) ดังตอไปนี้
                                          1) สภาพดินที่อิ่มตัวดวยน้ํา (saturated soil)  คือดินที่มีน้ําอยูเต็มในสัดสวน
                       ของเปอรเซ็นตของอากาศ และเปอรเซ็นตของน้ําในสวนประกอบของดิน ไดแก ดินที่อยูในสภาพน้ําขัง
                                          2) สภาพดินที่ไมอิ่มตัวดวยน้ํา (unsaturated soil) คือดินที่มีน้ําอยูไมเต็มใน
                       สัดสวนของเปอรเซ็นตของอากาศและเปอรเซ็นตของน้ําในสวนประกอบของดิน ไดแก ดินที่ดอนที่ใช

                       ทําการเกษตรกรรมโดยทั่วไป
                                          3)  สภาพความจุความชื้นภาคสนาม (field capacity : FC) คือสภาพของดิน
                       ที่สามารถอุมน้ําหรือดูดยึดน้ําไดมากที่สุดซึ่งอยูในชวงความลึกจากผิวดินลงไป 6 นิ้ว ชองวางขนาดเล็ก

                       ในดินจะอิ่มตัวดวยน้ํา สวนน้ําที่อยูในชองวางขนาดใหญจะเคลื่อนที่ออกหมดโดยแรงดึงดูดของโลก
                                          4) สภาพน้ําเยื่อ (hygroscopic coefficient) เปนสภาพที่น้ําจะอยูในรูปเยื่อ
                       บาง ๆ รอบอนุภาคดิน น้ําถูกยึดดวยแรงดึงดูดที่สูงมากตั้งแต 31 บรรยากาศจนถึง 10000 บรรยากาศ
                       สภาพเชนนี้พืชไมสามารถนําไปใชประโยชนได

                                          5) สภาพจุดเหี่ยวถาวรของพืช (permanent wilting point) เปนสภาพที่
                       เกิดขึ้นเนื่องจากในชองวางขนาดเล็กของดินมีปริมาณน้ําอยูนอยประกอบกับมีแรงยึดเพิ่มขึ้นในเวลา
                       กลางวันพืชจะตองคายน้ํา ทําใหอัตราการคายน้ํามากกวาอัตราการดูดน้ําของพืชทําใหพืชแสดงอาการ
                       เหี่ยวเฉาแบบชั่วคราว เมื่อเราเพิ่มน้ําใหกับดินอาการเชนนี้จะหายไป

                                          Chen et al. (1994) ไดศึกษาการปลูกหญาแฝกและไมปลูกหญาแฝกในสวน
                       มะนาว พบวาระบบนิเวศของสวนมะนาวที่มีการปลูกหญาแฝกและมีการตัดใบคลุมดินที่โคนตน ไดรับ
                       การปรับปรุงดีขึ้น และความชื้นดินเพิ่มขึ้น 2.8 เปอรเซ็นต ซึ่งแสดงใหเห็นวาการปลูกหญาแฝกจะชวย
                       ปรับปรุงสภาพอากาศของสวนมะนาว โดยเฉพาะในชวงกลางฤดูรอนที่มีอุณหภูมิสูง Xia et al.

                       (1996) พบวาในฤดูฝน แถวของหญาแฝกชวยทําใหปริมาณความชื้นในดินเพิ่มขึ้น 20.3 และ 4.1
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27